ข่าวประชาสัมพันธ์โรคหายาก | newswit

ภาคีเครือข่ายด้านโรคหายากตอกย้ำการส่งเสริมผู้ป่วยและสนับสนุนนโยบายเพื่อความเท่าเทียมการรักษา
ภาคีเครือข่ายด้านโรคหายากตอกย้ำการส่งเสริมผู้ป่วยและสนับสนุนนโยบายเพื่อความเท่าเทียมการรักษา
ในงานประชุม Southeast Asia Rare Disease Summit ครั้งที่ 2 – นพ.ชลน่าน ศรีแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 28 Mar
แว่นใหญ่ โอฬาร ชูใจ ร่วมร้องเพลงงานเปิดกองทุนโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง
แว่นใหญ่ โอฬาร ชูใจ ร่วมร้องเพลงงานเปิดกองทุนโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย – ปัจจุบันประเทศไทยมีความก้าวหน้าด้านการวินิจฉัยและดูแลรักษาโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง 22 Aug
'ลมใต้ปีก' พลังขับเคลื่อนของกลุ่มผู้ป่วยโรคหายากสู่การเปลี่ยนแปลง
'ลมใต้ปีก' พลังขับเคลื่อนของกลุ่มผู้ป่วยโรคหายากสู่การเปลี่ยนแปลง
สานต่อความหวังเพื่อเข้าถึงสิทธิการรักษาให้ครอบคลุมอย่างยั่งยืน – ศ. พญ. ดวงฤดี วัฒนศิริชัยกุล Mar 2023
มูลนิธิเพื่อผู้ป่วยโรคหายาก จัดกิจกรรมงานวันโรคหายากประเทศไทย
มูลนิธิเพื่อผู้ป่วยโรคหายาก จัดกิจกรรมงานวันโรคหายากประเทศไทย
ปีที่ 13 เพื่อให้สังคมตระหนักถึงโรคหายากและความสำคัญที่ต้องให้การดูแล – โรคหายาก เช่น โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงดูเชน Feb 2023
มูลนิธิโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง จับมือ
มูลนิธิโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง จับมือ
ร้านอาหาร CLARA และ J'AIME เปิดตัวประสบการณ์คอร์สอาหาร RARE & SHARE เพื่อการกุศล – ในครั้งนี้ ทางโครงการ Rare Feb 2023
งาน 20 ปี บนเส้นทางแห่งความหวัง…เสริมพลังโกเช่ร์
งาน 20 ปี บนเส้นทางแห่งความหวัง…เสริมพลังโกเช่ร์
– โรคโกเช่ร์ (Gaucher) เป็นหนึ่งในโรคพันธุกรรมแอลเอสดี ซึ่งอยู่ในกลุ่มของ "โรคหายาก" Oct 2022
เสียงสะท้อนร่วมส่งต่อพลังแห่งความหวังจากผู้ป่วยโรคปอมเป
เสียงสะท้อนร่วมส่งต่อพลังแห่งความหวังจากผู้ป่วยโรคปอมเป
ย้ำการดูแลรักษาในระบบสาธารณสุขอย่างยั่งยืนช่วย 'เปลี่ยนชีวิต' ของผู้ป่วยโรคหายาก – May 2022
มูลนิธิโรคพันธุกรรมแอลเอสดี รวบรวมเสียงสะท้อนผู้ป่วยโรคหายาก
มูลนิธิโรคพันธุกรรมแอลเอสดี รวบรวมเสียงสะท้อนผู้ป่วยโรคหายาก
ผ่านหนังสือ 12 ปี แห่งการเดินทางของมูลนิธิโรคพันธุกรรมแอลเอสดี มอบให้แก่ สปสช. – นายบุญ พุฒิพงศ์ธนโชติ Apr 2022
ทาเคดา ประเทศไทย เปิดเวทีให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลได้สะท้อนประสบการณ์กับโรคหายาก
ทาเคดา ประเทศไทย เปิดเวทีให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลได้สะท้อนประสบการณ์กับโรคหายาก
พร้อมเพิ่มพลังแห่งความสุขผ่านกิจกรรมศิลปะบำบัด – โรคหายาก หรือ Rare Disease เป็นโรคที่มีอุบัติการณ์ต่ำ Mar 2022
รวมพลังขับเคลื่อนโรคหายาก ปีที่
รวมพลังขับเคลื่อนโรคหายาก ปีที่
12 เพื่อก้าวสู่มิติในการเข้าถึงยาและสิทธิการรักษาให้ครอบคลุมมากขึ้น – คุณปรียา สิงห์นฤหล้า Mar 2022
ทาเคดา ประเทศไทย ร่วมกับพันธมิตรจัดการประชุมระดับภูมิภาค
ทาเคดา ประเทศไทย ร่วมกับพันธมิตรจัดการประชุมระดับภูมิภาค
'The first Southeast Asia Rare Disease Summit' – สมาคมเวชพันธุศาสตร์และจีโนมิกส์ทางการแพทย์ (สวพจ) Jan 2022
ถอดรหัสยีนก่อนรักษา เยียวยาถูกจุด
ถอดรหัสยีนก่อนรักษา เยียวยาถูกจุด
จุฬาฯ นำการแพทย์จีโนมิกส์วินิจฉัยโรคพันธุกรรมหายากในประเทศไทย – เมื่อราว 20 กว่าปีก่อน Sep 2021
29 ก.พ. นี้ เชิญร่วมงานเสวนาฟรี!
29 ก.พ. นี้ เชิญร่วมงานเสวนาฟรี!
ในงาน “โรคหายาก ประเทศไทย ครั้งที่ 10 และงานครบรอบ 3 ปี มูลนิธิเพื่อผู้ป่วยโรคหายาก” เพื่อขับเคลื่อน รวมพลัง Feb 2020
ภาพข่าว: ทาเคดา ร่วมกับองค์กรแพทย์และกลุ่มผู้ป่วยลงนามความร่วมมือเพื่อวิจัยและศึกษาโรคหายาก
ภาพข่าว: ทาเคดา ร่วมกับองค์กรแพทย์และกลุ่มผู้ป่วยลงนามความร่วมมือเพื่อวิจัยและศึกษาโรคหายาก
หวังพัฒนาการวินิจฉัยและดูแลผู้ป่วยให้ดีขึ้น เพื่ออนาคตที่สดใสของคนไทย – รายละเอียดของบุคคลในภาพ (จากซ้ายไปขวา) 1. Sep 2019
โรคหายาก ความท้าทาย ที่ต้องเร่งวินิจฉัย
โรคหายาก ความท้าทาย ที่ต้องเร่งวินิจฉัย
– ศาสตราจารย์ นายแพทย์วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวด้านโรคพันธุกรรม คณะแพทยศาสตร์ Aug 2019
“โรคตุ่มน้ำพอง” ไม่ใช่โรคหายาก
“โรคตุ่มน้ำพอง” ไม่ใช่โรคหายาก
และรักษาได้ – สังเกตอย่างไรว่าเป็นโรคตุ่มน้ำพอง? อาการจะเริ่มจากมีผื่นคันมาก่อนที่ผิวหนังแล้วกลายเป็นตุ่มพอง Jun 2019
เทเคดะ, ไมโครซอฟท์ และ EURORDIS ออกรายงาน พร้อมแผนปฏิบัติการเพื่อช่วยวงการแพทย์และสาธารณสุขตรวจวินิจฉัยโรคหายากได้เร็วขึ้น – โรคหายากยังคงเป็นโรคที่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัย เนื่องจากผู้ป่วยต้องเผชิญกับความยากลำบากในการหาทางเข้าถึงระบบสุขภาพที่ซับซ้อนเพื่อให้ได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง ซึ่งอาจใช้เวลาเฉลี่ยถึง 5 ปี แม้ในประเทศที่มีระบบสุขภาพทันสมัย Global Commission to End the Diagnostic Odyssey for Children (หรือ "Global
เอเปกประกาศแผนแม่บทเกี่ยวกับโรคหายาก ตั้งเป้าบูรณาการระบบดูแลผู้ป่วยโรคหายากภายในปี 2568 – เป้าหมายเพื่อนิยาม , วินิจฉัยโรค และสนับสนุนผู้ป่วยโรคหายากผ่านนวัตกรรม , การให้การศึกษา , การสร้างศักยภาพ และการปรับนโยบายให้สอดคล้องกันในบรรดาสมาชิกเอเปก 21 ประเทศ ในระหว่างการประชุมAPEC CEO Summit 2018 วันที่ 15-17 พ.ย. เครือข่าย APEC LSIF Rare Disease Network ได้ประกาศเปิดตัวแผนแม่บทเกี่ยวกับโรคหายาก (Rare Disease Action Plan)
Humanscape เตรียมสร้างเครือข่ายผู้ป่วยพลังบล็อกเชนที่ดีที่สุดในเอเชีย – คาดว่าจะเปิดตัวแพลตฟอร์มพลังบล็อกเชน "Humanscape" ได้ภายในปลายปีนี้ ปัจจุบันมีผู้ป่วยโรคร้ายแรง โรคที่รักษาไม่หาย และ/หรือโรคหายาก เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อย่างไรก็ดี การเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับอาการเจ็บป่วยเหล่านี้กลับมีไม่มาก โดยจำกัดอยู่แค่ในโรงพยาบาลหรือการค้นหาทางอินเทอร์เน็ต แม้ปัจจุบันมีชุมชนและองค์กรที่คอยดูแลผู้ป่วยในโรคบางกลุ่มอยู่แล้ว แต่ข้อมูลก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายมากนัก
Shire รวมพลังสนับสนุนการจัดทำหลักการดูแลผู้ป่วยในเอเชียแปซิฟิก เนื่องในวันฮีโมฟีเลียโลก 2018 – รับชมข่าวประชาสัมพันธ์ในรูปแบบมัลติมีเดียได้ที่ https://www.prnasia.com/mnr/whd_2018.shtml ณ พิพิธภัณฑ์เรด ดอท ดีไซน์ ในสิงคโปร์ ชุมชนฮีโมฟีเลีย (ซึ่งรวมถึงผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์) ได้เข้าร่วมในกิจกรรม Gallery Walk ที่นำโดยผู้เชี่ยวชาญด้านโลหิตวิทยา 3 ท่านจาก Asia-Pacific Hemophilia Working Group (APHWG)
แอลเอสดี หนึ่งในโรคหายากที่ยังรอคอยความหวังและโอกาสจากระบบสาธารณสุขของไทย
แอลเอสดี หนึ่งในโรคหายากที่ยังรอคอยความหวังและโอกาสจากระบบสาธารณสุขของไทย
– ล่าสุดจากการรวมตัวของครอบครัวผู้ป่วยโรคที่มีการสะสมของสารในไลโซโซม (Lysosomal Storage Disease) Jan 2018
มะเร็งวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย
มะเร็งวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย
จัดงานวิ่งการกุศล “G RUN ยั่งยืน” ระดมทุนเพื่อผู้ป่วยมะเร็งจิสต์ โรคหายากที่คนไทยไม่รู้จัก – รศ.ดร.นพ.วิโรจน์ Jul 2017
เตือนคนไทย...โรคหายากไม่ใช่เรื่องไกลตัว
เตือนคนไทย...โรคหายากไม่ใช่เรื่องไกลตัว
– โรคหายาก เป็นกลุ่มโรคที่พบน้อยราว1ใน2000คนของประชากร หายารักษายากและเป็นโรคที่มีความรุนแรง Mar 2016
หลากหลายความหวังของผู้ป่วยแอลเอสดี ต่อความช่วยเหลือจากภาครัฐ – สำหรับผู้ป่วยโรคอื่นกลุ่มโรคหายาก ที่ยังไม่ได้เข้าถึงสิทธิ์ในการรักษา ทางมูลนิธิฯและกลุ่มแพทย์พันธุศาสตร์ได้ขอความอนุเคราะห์จากภาคเอกชน ในการบริจาคยารักษาให้กับผู้ป่วยหลายราย เช่น โรคโกเชร์ (Gaucher) ชนิดที่ 3 , โรค (Pompe) ปอมเป , โรคเอมพีเอส( MPS) ชนิดที่ 1 , โรคแฟเบรFabry ด้านคุณย่าคำเพือย กอกรัมย์ ผู้ปกครอง เด็กหญิง จิราพร กอกรัมย์ (น้องปุ๊กโกะ) อายุ 10 ปี
แผนงาน”กลุ่มสนับสนุนผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็ง” จากประเทศไทย ชนะรางวัล Sanofi-Rainbow Across Borders สำหรับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก – เมื่อเร็วๆ นี้ ที่ประชุม Partners in Patient Health Asia Pacific Forum 2015 ซึ่งจัดที่ประเทศสิงคโปร์ ได้มีการเปิดเผยผลการประกวดรางวัล Sanofi-Rainbow Across Borders สำหรับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งเป็นรางวัลแรกในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกที่มอบให้แก่แผนงานของชมรมผู้ป่วยและกลุ่มผู้ให้การสนับสนุนผู้ป่วย (patient
ไอเกอร์ ไบโอ ได้รับอนุญาตให้ใช้ Lonafarnib ในการรักษาโรคหายากเป็นครั้งแรกในวงการ เพื่อรักษาผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ดี (HDV) – โลโก้ - http://photos.prnewswire.com/prnh/20141221/165715LOGO "เรายึดมั่นกับพันธกิจในการพัฒนาการรักษาโรคไวรัสตับอักเสบที่มีความซับซ้อนที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไวรัสตับอักเสบ ดี ซึ่งยังไม่มียารักษาที่ได้รับการอนุญาตจาก FDA อยู่ในขณะนี้" เดวิด คอรี ประธานและประธานเจ้าหน้าที่บริหารของไอเกอร์กล่าว
เนื้องอกต่อมใต้สมองชนิดคุชชิ่ง โรคหายากแต่เป็นอันตรายถึงชีวิต ผศ.นพ.ธิติ สนับบุญ หน่วยต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – กรุงเทพฯ--11 เม.ย.--คอร์ แอนด์ พีค ผศ.นพ.ธิติ สนับบุญ หน่วยต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเนื้องอกต่อมใต้สมองชนิดคุชชิ่ง ซึ่งเป็นโรคยังไม่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายนัก