ข่าวประชาสัมพันธ์เซลล์แสงอาทิตย์ | newswit

เจเอ โซลาร์ เปิดตัวโมดูลดีปบลู 4.0 โปร รุ่นใหม่ – เจเอ โซลาร์ (JA Solar) เปิดตัวโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ดีปบลู 4.0 โปร (DeepBlue 4.0 Pro) แบบเอ็นไทป์ (n-type) ที่งานการผลิตไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ระหว่างประเทศและการประชุมและนิทรรศการพลังงานอัจฉริยะ ประจำปี 2566 (SNEC 2023) โดยโมดูลนี้สร้างขึ้นจากเวเฟอร์ซิลิคอนสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดใหม่ที่ล้ำสมัย
แอสโทรเนอร์จี คว้าตำแหน่ง ผู้ทำผลงานยอดเยี่ยม
แอสโทรเนอร์จี คว้าตำแหน่ง ผู้ทำผลงานยอดเยี่ยม
ประจำปี 2566 จากพีเวล – พีเวล ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการทดสอบอิสระชั้นนำในอุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ปลายน้ำ 26 May
แอสโทรเนอร์จี เปิดตัวโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์รุ่นใหม่
แอสโทรเนอร์จี เปิดตัวโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์รุ่นใหม่
แอสโทร เอ็น7 สู่สายตาทั่วโลกในงาน SNEC – นับตั้งแต่แอสโทรเนอร์จีเปิดตัวโมดูลท็อปคอนชนิดเอ็นไทป์และผลิตในปริมาณมากเ 24 May
สมาคมอุตสาหกรรมเซลล์แสงอาทิตย์ไทย จัดเสวนาติดตั้ง แรพพิด ชัทดาวน์ – สำหรับการจัดเสวนาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และ ชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นของการติดตั้ง แรพพิด ชัทดาวน์ (Rapid Shut down) สำหรับอาคารที่ติดตั้งโซลาร์ รูฟทอป ให้กับสมาชิกสมาคมฯ ผู้ประกอบการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสาธารณชน ทั้งนี้กฎหมายได้กำหนดว่า ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เป็นต้นไป อาคารที่ติดตั้งโซลาร์ รูฟทอป 200
ทรินา โซลาร์ คว้ารางวัลแบรนด์เซลล์แสงอาทิตย์ยอดเยี่ยมประจำปี
ทรินา โซลาร์ คว้ารางวัลแบรนด์เซลล์แสงอาทิตย์ยอดเยี่ยมประจำปี
2566 จากยูพีดี รีเสิร์ช – ยูพีดี รีเสิร์ช คือหน่วยงานรับรองชั้นนำระดับโลกสำหรับอุตสาหกรรมเซลล์แสงอาทิตย์ 12 May
เบนี เตรียมเปิดตัวโซลูชันหยุดทำงานฉุกเฉินรุ่นใหม่ล่าสุดที่งาน
เบนี เตรียมเปิดตัวโซลูชันหยุดทำงานฉุกเฉินรุ่นใหม่ล่าสุดที่งาน
SNEC – BFS-21/22 ออกแบบมาสำหรับระบบพลังงานแสงอาทิตย์ 08 May
ไรเซ่น เอ็นเนอร์ยี่ เผยแพร่รายงานประจำปี 2565 ปลื้มรายได้โต 56.05% เมื่อเทียบเป็นรายปี – ในปี 2565 ไรเซ่น เอ็นเนอร์ยี่ มีรายได้รวม 2.938 หมื่นล้านหยวน (4.24 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) เพิ่มขึ้น 56.05% เมื่อเทียบเป็นรายปี โดยกำไรสุทธิที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นสูงถึง 945 ล้านหยวน (136.52 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) เพิ่มขึ้น 2,332.31% เมื่อเทียบเป็นรายปี ส่วนกำไรสุทธิไม่รวมกำไรและขาดทุนรายการพิเศษ อยู่ที่ 1.026 พันล้านหยวน (148.22 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
แอสโทรเนอร์จีเพิ่มกำลังการผลิตโมดูลท็อปคอนเป็น
แอสโทรเนอร์จีเพิ่มกำลังการผลิตโมดูลท็อปคอนเป็น
28 กิกะวัตต์ – ในโครงการขั้นที่ 4 ของฐานการผลิตของแอสโทรเนอร์จีได้มีการเพิ่มอุปกรณ์การผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ท็อปคอน 28 Apr
เจเอ โซลาร์ คว้ารางวัล แบรนด์เซลล์แสงอาทิตย์ยอดเยี่ยม
เจเอ โซลาร์ คว้ารางวัล แบรนด์เซลล์แสงอาทิตย์ยอดเยี่ยม
ในภูมิภาคลาตินอเมริกาและแอฟริกาจากยูพีดี รีเสิร์ช – ยูพีดี รีเสิร์ช คือสถาบันวิจัยอิสระที่มีชื่อเสียงในระดับโลก 24 Apr
เจเอ โซลาร์ รั้งอันดับ AAA ในการจัดอันดับความมั่นคงทางการเงิน
เจเอ โซลาร์ รั้งอันดับ AAA ในการจัดอันดับความมั่นคงทางการเงิน
พีวี โมดูลเทค – รายงานของพีวีเทควิเคราะห์ประสิทธิภาพของผู้ผลิตในด้านต่าง ๆ ทั้งการจัดส่ง กำลังการผลิต เทคโนโลยี 19 Apr
ทรินา โซลาร์ และ อัล-ราเอบี ลงนามข้อตกลงจัดหาโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์
ทรินา โซลาร์ และ อัล-ราเอบี ลงนามข้อตกลงจัดหาโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์
500 เมกะวัตต์ ป้อนตลาดเยเมน – ทรินา โซลาร์ (Trina Solar) และอัล-ราเอบี ฟอร์ เทรดดิง (Al-Raebi for Trading) 05 Apr
จีซีแอล ซิสเต็ม อินทิเกรชัน นำนวัตกรรมโมดูลท็อปคอนชนิดเอ็นไทป์ และผลิตภัณฑ์บีไอพีวีล่าสุด ออกแสดงในงานพีวี เอ็กซ์โป ประจำปี 2566 – โทมัส จาง (Thomas Zhang) ประธานของจีซีแอล เอสไอ กล่าวว่า "จีซีแอล เอสไอ มีความภาคภูมิใจที่เป็นผู้ริเริ่มชั้นนำในด้านพลังงานหมุนเวียน ผลักดันขอบเขตของอุตสาหกรรมเซลล์แสงอาทิตย์อย่างต่อเนื่องด้วยโซลูชันหลากหลายที่ล้ำสมัยของเรา ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ เราได้มีโอกาสจัดแสดงผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่งานพีวี เอ็กซ์โป
ลอนจี ติดอันดับเทียร์ 1 ในรายงานประจำไตรมาส 1 ปี 2566 ของบีเอ็นอีเอฟ ปลื้มเซลล์แสงอาทิตย์ขององค์กรเป็นที่ยอมรับในวงการ – การจัดอันดับผู้ผลิตโมดูลแสงอาทิตย์รายการนี้ เป็นระบบจัดอันดับอุตสาหกรรมที่มีชื่อเสียงและมีอิทธิพลมากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก โดยบีเอ็นอีเอฟประเมินในแง่ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการรับประกันคุณภาพสินค้า การประมูลโครงการภาครัฐ และการสนับสนุนทางการเงินจากธนาคาร การจัดอันดับนี้มีขึ้นทุกไตรมาส
แอสโทรเนอร์จี จัดหาโมดูลท็อปคอน
แอสโทรเนอร์จี จัดหาโมดูลท็อปคอน
454 เมกะวัตต์ให้โปรเจกต์ใหญ่ในบราซิล – แอสโทรเนอร์จี (Astronergy) ผู้ผลิตโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ชั้นนำ เปิดเผยว่า 23 Mar
Xinhua Silk Road: เอสอีจี โซลาร์
Xinhua Silk Road: เอสอีจี โซลาร์
เข้าซื้อโรงงานผลิตโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 2 กิกะวัตต์ในเมืองฮิวสตัน รัฐเท็กซัส – 20 Mar
แอสโทรเนอร์จี จัดหาโมดูลเอ็นไทป์
แอสโทรเนอร์จี จัดหาโมดูลเอ็นไทป์
154.4 เมกะวัตต์ ให้โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ท็อปคอนขนาดใหญ่ที่สุดในยุโรป – 07 Mar
อาร์คเทค พบปะและต้อนรับผู้บริหารบริษัทเอซีดับบลิวเอ
อาร์คเทค พบปะและต้อนรับผู้บริหารบริษัทเอซีดับบลิวเอ
พาวเวอร์ และไชน่า เอ็นเนอร์จี เอ็นจิเนียริ่ง กรุ๊ป – เอซีดับบลิวเอ พาวเวอร์ 03 Mar
ทรินา โซลาร์ เปิดตัวแผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบกระจกสองชั้นประเภท
ทรินา โซลาร์ เปิดตัวแผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบกระจกสองชั้นประเภท
N รุ่น Vertex S+ 445W สำหรับติดตั้งบนหลังคา – เมื่อต้องเลือกแผงโซลาร์เซลล์สำหรับติดตั้งบนหลังคาแล้ว 27 Feb
เจเจ-แลปป์ และ ทรินา โซลาร์ ลงนามข้อตกลงความร่วมมือเชิงกลยุทธ์
เจเจ-แลปป์ และ ทรินา โซลาร์ ลงนามข้อตกลงความร่วมมือเชิงกลยุทธ์
คาดธุรกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เติบโตเป็นสองเท่าในปี 2566 – เจเจ-แลปป์ และ ทรินา โซลาร์ 23 Feb
ไรเซ่น เอ็นเนอร์ยี่ สร้างสถิติใหม่! โมดูลแสงอาทิตย์ไฮเปอร์ไอออนแบบ HJT มีกำลังผลิตแตะ 741.456W ด้วยประสิทธิภาพ 23.89% – ประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นนี้เป็นผลจากนวัตกรรมเทคโนโลยี เช่น เวเฟอร์แบบบางเฉียบ เทคโนโลยีซีโร่ บัสบาร์ (zero busbar) การเชื่อมต่อโครงข่ายไฮเปอร์ลิงก์ และวัสดุห่อหุ้ม โมดูลรุ่นนี้ยังมีค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิที่เสถียรมาก และมีค่าประสิทธิภาพสองหน้าสูงถึง 85% ?10% ซึ่งรักษาเอาต์พุตพลังงานให้สูงกว่า 90%
ทรินา โซลาร์ และ โลว์ คาร์บอน ลงนามกรอบความตกลงจัดหาโมดูลระดับกิกะวัตต์ระยะเวลาหลายปี – การลงนามกรอบความตกลงกับทรินา โซลาร์ จะช่วยสร้างความมั่นคงปลอดภัยในการวางแผนโครงการต่าง ๆ และจะช่วยให้กระบวนการทำสัญญาคำสั่งซื้อในอนาคตเป็นไปอย่างรวดเร็ว จนถึงตอนนี้ โลว์ คาร์บอน ทำสัญญาจัดซื้อโมดูล 1 กิกะวัตต์แล้ว ซึ่งครอบคลุมการพัฒนาโครงการต่าง ๆ
ทรินา โซลาร์ จับมือ ซูเมค ลงนามบันทึกความเข้าใจ
ทรินา โซลาร์ จับมือ ซูเมค ลงนามบันทึกความเข้าใจ
ครอบคลุมโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ – นับตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา 10 Feb
ไรเซ่น เอ็นเนอร์ยี่ เผยโมดูล HJT ขนาด 700Wp+ เข้าสู่ยุคของการผลิตในปริมาณมาก – ไรเซ่น เอ็นเนอร์ยี่ ยังได้เปิดเผยแผนเพิ่มกำลังการผลิตโมดูลและเซลล์แสงอาทิตย์ไฮเปอร์ไอออนแบบ HJT สู่ระดับ 5 กิกะวัตต์ ภายในครึ่งแรกของปี 2566 จากนั้นจะเพิ่มขึ้นอีกสามเท่าเป็น 15 กิกะวัตต์ ภายใน 6 เดือนหลังจากนั้นนับตั้งแต่ปี 2562 เป็นต้นมา ไรเซ่น เอ็นเนอร์ยี่ ได้ทุ่มลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาวัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี
หัวเว่ย เผย 10 สุดยอดเทรนด์ระดับโลกด้านเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์อัจฉริยะ
หัวเว่ย เผย 10 สุดยอดเทรนด์ระดับโลกด้านเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์อัจฉริยะ
– สัดส่วนพลังงานหมุนเวียนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์เติบโตอย่างรวดเร็ว 27 Dec
สนพ.จันทบุรี เปิดฝึกอบรมหลักสูตร
สนพ.จันทบุรี เปิดฝึกอบรมหลักสูตร
เทคนิคการติดตั้งและบำรุงรักษาระบบเซลล์แสงอาทิตย์ – 26 Dec
ประธานทรินา โซลาร์ ส่งเสริมการสร้างระบบนิเวศใหม่ในยุคใหม่ ผลักดันโมดูล n-type ถึงจุดคุ้มค่า – นายเกาพูดคุยเกี่ยวกับเทรนด์เทคโนโลยี n-type, คุณค่าของเซลล์แสงอาทิตย์และโมดูล i-TOPCon ชนิด n-type ขนาด 210 มม., คุณค่าของห่วงโซ่อุตสาหกรรมและระบบนิเวศอุตสาหกรรม รวมถึงวิธีที่ผู้ผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ของจีนจะรักษาความสามารถด้านการแข่งขันในตลาดสิ่งที่นายเกากล่าวต่อที่ประชุมสรุปได้ดังนี้แนวโน้มอุตสาหกรรม: การผลิตโมดูลประสิทธิภาพสูงชนิด n-type
โซลาร์เซลล์ของ ไรเซ่น เอ็นเนอร์ยี่ ผ่านการรับรองจากสำนักมาตรฐานอินเดีย – บีไอเอสคือหน่วยงานรับรองมาตรฐานแห่งชาติของอินเดียที่จัดตั้งขึ้นภายใต้กฎหมายบีไอเอสปี 2559 เพื่อพัฒนากิจกรรมที่สอดคล้องกันทั้งการกำหนดมาตรฐาน การมอบเครื่องหมาย และการรับรองคุณภาพของสินค้า โดยมาตรฐานบีไอเอสเป็นเครื่องรับรองคุณภาพ ความปลอดภัย และความน่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานของอินเดีย (Indian Standards หรือ
ทรินา โซลาร์ แบ่งปันวิสัยทัศน์คาร์บอนต่ำในการประชุม COP27 – ประเด็นการปล่อยคาร์บอนต่ำเป็นจุดสนใจหลักของการประชุมที่จัดขึ้น ณ เมืองชาร์มเอลชีค ประเทศอียิปต์ ระหว่างวันที่ 6-18 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ซึ่งมีผู้เข้าร่วม 35,000 คน รวมถึงประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลกว่า 100 คน ตลอดจนวิทยากรประมาณ 2,000 คนที่เป็นผู้นำการอภิปรายเชิงลึกเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศคุณเจิ้ง อี้ (Zeng Yi) ผู้ช่วยรองประธานฝ่ายกลยุทธ์และการตลาดของทรินา โซลาร์
ทรินา โซลาร์ ได้คะแนนเต็ม 100%
ทรินา โซลาร์ ได้คะแนนเต็ม 100%
ในรายงานการสำรวจความน่าเชื่อถือทางการเงินประจำปี 2565 จาก BNEF นำโดยแผงโซลาร์เซลล์ขนาด 210 มม. – นอกจากนี้ 25 Nov
เจเอ โซลาร์ จัดหาโมดูลให้โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ใช้ระบบติดตามดวงอาทิตย์แบบแกนเดียวโครงการใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย – ผู้รับเหมาโครงการคือบริษัท พาวเวอร์ไชน่า หัวตง เอนจิเนียริง คอร์ปอเรชัน จำกัด (PowerChina Huadong Engineering Corporation Limited) โดยโครงการนี้ใช้โมดูลกระจกสองชั้นสองหน้ารุ่นดีปบลู 3.0 (DeepBlue 3.0) ของเจเอ โซลาร์ ทั้งหมด และเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ใช้ระบบติดตามดวงอาทิตย์แบบแกนเดียวโครงการใหญ่ที่สุดในประเทศมาเลเซียโครงการนี้ตั้งอยู่ในรัฐตรังกานู