ข่าวประชาสัมพันธ์ฮีโมฟีเลีย | newswit

ใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขกับ ฮีโมฟีเลีย
ใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขกับ ฮีโมฟีเลีย
ด้วยการรักษาแบบป้องกัน – แพทย์ชี้รักษาแบบป้องกัน ไม่เจ็บปวด ไม่เป็นข้อพิการรศ.พญ. ดารินทร์ ซอโสตถิกุล Apr 2023
อ็อคตาฟาร์มา ภูมิใจเป็นสปอนเซอร์การประชุมสหพันธ์ฮีโมฟีเลียโลกประจำปี 2565 เตรียมขึ้นเวทีให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรควอนวิลลิแบรนด์ – อ็อคตาฟาร์มาจะชูประเด็นสำคัญที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองของผู้ป่วยโรควอนวิลลิแบรนด์ (VWD) ระหว่างการประชุมสัมมนาสด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในซีรีส์ "อันเดอร์ เดอะ สปอตไลต์" (Under the Spotlight) โดยผู้เข้าร่วมจะมีโอกาสถามคำถามระหว่างช่วงถามตอบ การประชุมนี้จะสตรีมสดถึงผู้เข้าร่วมการประชุมออนไลน์
ฮีโมฟีเลีย-โรคเลือดออกง่ายหยุดยาก
ฮีโมฟีเลีย-โรคเลือดออกง่ายหยุดยาก
เปิดสถานการณ์และอนาคตการรักษาแบบป้องกันสำหรับผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลียในประเทศไทย – หรือรับชมทางออนไลน์ได้ที่ Mar 2022
รู้จักฮีโมฟีเลีย โรคเลือดออกง่ายแม้ไม่หายขาด
รู้จักฮีโมฟีเลีย โรคเลือดออกง่ายแม้ไม่หายขาด
แต่โอกาสชีวิตดียังมี – เมื่อเกิดบาดแผล การมีเลือดออกเป็นอาการปกติที่เกิดขึ้นกับทุกคน Mar 2022
เปิดตัวแอปพลิเคชัน HemMobile(TM)
เปิดตัวแอปพลิเคชัน HemMobile(TM)
ยกระดับการดูแลสุขภาพและการรักษา ให้คนไทยเข้าถึง โรคฮีโมฟีเลีย ได้ง่ายขึ้น – นายแพทย์ฉัตรไผท มูลละ Jan 2022
Octapharma นำเสนอปัญหาการจัดการสารต้านในโรคฮีโมฟีเลีย เอ ในงานประชุม European Association for Haemophilia and Allied Disorders (EAHAD) ประจำปีครั้งที่ 15 – การก่อสารต้านแฟคเตอร์ทดแทน VIII (FVIII) ยังคงเป็นปัญหาสำคัญที่ผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลีย เอ และครอบครัวผู้ป่วยวิตกกังวล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในครอบครัวที่มีประวัติการก่อสารต้านอยู่แล้ว ซึ่งต้องเผชิญปัญหาในการใช้ชีวิต
อยู่ได้อย่างมีสุขหากรู้เท่าทัน
อยู่ได้อย่างมีสุขหากรู้เท่าทัน
กับ ฮีโมฟีเลีย โรคเลือดออกง่ายหยุดยาก อันตรายในเด็ก – "ฮีโมฟีเลีย หรือโรคเลือดออกง่าย เป็นโรคที่พบได้ไม่บ่อย Jul 2021
Octapharma เตรียมนำเสนอผลงานวิจัยเพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลียและโรควอนวิลลิแบรนด์ ที่งาน ISTH 2021 Congress – นอกจากการประชุมนำเสนอผลงานวิจัย (Supported Symposia) สองหัวข้อที่จะอภิปรายเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลีย เอ (Haemophilia A) และโรควอนวิลลิแบรนด์ (Von Willebrand disease (VWD)) อย่างครอบคลุมแล้ว ภายในงานยังมีการนำเสนอโปสเตอร์งานวิจัยในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (ePosters) เจ็ดรายการ ซึ่งครอบคลุมการวิจัยทางคลินิกและโครงการต่าง ๆ ที่กำลังดำเนินอยู่
ไทยพาณิชย์ จับมือ โรช ไทยแลนด์
ไทยพาณิชย์ จับมือ โรช ไทยแลนด์
ร่วมแบ่งเบาความกังวลภาระการรักษาพยาบาล ส่ง สินเชื่อเพื่อค่ารักษาโรคมะเร็งและโรคฮีโมฟีเลีย บีบมือสู้พร้อมกับคนที่คุณรัก May 2021
TOA และมูลนิธิคุณแม่ลี้กิมเกียว
TOA และมูลนิธิคุณแม่ลี้กิมเกียว
ตั้งคารวคุณ มอบเงินช่วยเหลือค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคฮีโมฟีเลีย – Mar 2021
Octapharma AG ประกาศข้อมูลสรุปของโครงการวิจัย NuProtect จากการศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังให้ยา Nuwiq(R) กับผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลีย เอ ที่มีอาการรุนแรงและไม่เคยได้รับการรักษามาก่อน – โครงการ NuProtect (NCT01712438; EudraCT 2012-002554-23) เป็นการวิจัยเฟส 3 จัดทำในลักษณะไปข้างหน้า ดำเนินการทดลองแบบเปิดในหลายประเทศและไม่มีกลุ่มควบคุม การวิจัยได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อเดือนมีนาคม 2556 เพื่อประเมินความสามารถในการกระตุ้นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน
''โรช ชิลเดรนส์ วอล์ค - Roche
''โรช ชิลเดรนส์ วอล์ค - Roche
Children's Walk 2020'' เดินหน้าระดมทุน ช่วยเหลือผู้ป่วยเด็กโรคเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลีย – 'โรช ชิลเดรนส์ วอล์ค' Nov 2020
วันฮีโมฟีเลียโลก 2563 ปีแห่งความร่วมมือเพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ผู้ป่วยทั่วไทย
วันฮีโมฟีเลียโลก 2563 ปีแห่งความร่วมมือเพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ผู้ป่วยทั่วไทย
– โรคฮีโมฟีเลีย จัดเป็นโรคหายาก โดยสหพันธ์ฮีโมฟีเลียโลกได้ประมาณการณ์จำนวนผู้ป่วยทั่วโลกไว้อยู่ที่ 400,000 คน[1] Apr 2020
ISTH เปิดตัวโครงการให้ความรู้เรื่องยีนบำบัดเพื่อรักษาโรคฮีโมฟีเลีย – ยีนบำบัดอาจเป็นวิธีใหม่ที่สามารถรักษาผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลีย และสมาคม ISTH เล็งเห็นถึงความจำเป็นอย่างเร่งด่วนในการให้ความรู้แก่แพทย์ นักวิทยาศาสตร์ และผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพในชุมชนการรักษาโรคฮีโมฟีเลียทั่วโลก ในช่วงต้นปี 2562 ทางสมาคมได้จัดตั้งคณะกรรมการอำนวยการว่าด้วยยีนบำบัดเพื่อรักษาโรคฮีโมฟีเลีย ซึ่งประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญแถวหน้าของโลก นำโดย ดร.พญ. Flora Peyvandi และ นพ. David Lillicrap
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
จัดกิจกรรม “Hemophilia Thailand 4.0” เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยโรคเลือดออกง่ายหยุดยาก – Apr 2019
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
จัดงาน “Hemophilia Thailand 4.0” ในวันที่ 21 เมษายน 62 ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเลือดออกง่ายหย Apr 2019
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
จัดงาน “Hemophilia Thailand 4.0” – ทั้งนี้ฮีโมฟีเลียจัดเป็นโรคหายาก พบผู้ป่วย 1 คนต่อประชากร 10,000 คน Apr 2019
Shire รวมพลังสนับสนุนการจัดทำหลักการดูแลผู้ป่วยในเอเชียแปซิฟิก เนื่องในวันฮีโมฟีเลียโลก 2018 – รับชมข่าวประชาสัมพันธ์ในรูปแบบมัลติมีเดียได้ที่ https://www.prnasia.com/mnr/whd_2018.shtml ณ พิพิธภัณฑ์เรด ดอท ดีไซน์ ในสิงคโปร์ ชุมชนฮีโมฟีเลีย (ซึ่งรวมถึงผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์) ได้เข้าร่วมในกิจกรรม Gallery Walk ที่นำโดยผู้เชี่ยวชาญด้านโลหิตวิทยา 3 ท่านจาก Asia-Pacific Hemophilia Working Group (APHWG)
วิ่งสกัดโรค ก้าวต่อไปไม่สะเทือนไต...เพื่อผู้ป่วยโรคไตและโรคฮีโมฟีเลีย
วิ่งสกัดโรค ก้าวต่อไปไม่สะเทือนไต...เพื่อผู้ป่วยโรคไตและโรคฮีโมฟีเลีย
– นับเป็นปีที่ 5 แล้ว สำหรับกิจกรรมเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ-มินิมาราธอนการกุศล "แบ็กซ์เตอร์ รันฟอร์ฟันด์ 2017" (Baxter Oct 2017
ภาพข่าว: สปสช กับ โครงการรักษาโรคฮีโมฟีเลีย
ภาพข่าว: สปสช กับ โครงการรักษาโรคฮีโมฟีเลีย
ช่วยผู้ป่วยนับพันราย ไม่ต้องเข้ารักษาที่โรงพยาบาล ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก – Sep 2017
ก้าวใหม่ ความร่วมมือของคณะแพทยศาสตร์ทั่วประเทศ
ก้าวใหม่ ความร่วมมือของคณะแพทยศาสตร์ทั่วประเทศ
ในการรักษาโรคเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลีย ช่วยผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลียนับพันรายต่อปี ไม่ต้องมารับน้ำเหลืองในโรงพยาบาล Sep 2017
ภาพข่าว: รพ.พระมงกุฏเกล้าจัดงาน
ภาพข่าว: รพ.พระมงกุฏเกล้าจัดงาน
“HEALTHY LIVING” งานพบปะสังสรรค์ผู้ป่วยฮีโมฟีเลียและโรคเลือดออกง่ายพันธุกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 19 – May 2017
“HEALTHY LIVING” งานพบปะสังสรรค์ผู้ป่วยฮีโมฟีเลีย
“HEALTHY LIVING” งานพบปะสังสรรค์ผู้ป่วยฮีโมฟีเลีย
และโรคเลือดออกง่ายพันธุกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 19 – สำหรับบทบาทของการดูแลผู้ป่วยโรคเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลียมีความ Apr 2017
ยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลีย
ยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลีย
– ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา คณบดีคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า Jan 2017
สปสช. ร่วมกับมูลนิธิโรคเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลีย จัดสัมภาษณ์พิเศษ “ฮีโมฟีเลีย” โรคเรื้อรังที่มีค่าใช้จ่ายสูงและได้รับการดูแลรักษาจากรัฐบาล – ฮีโมฟีเลียเป็นโรคเลือดออกง่ายเรื้อรังทางพันธุกรรมที่มีค่าใช้จ่ายสูง เนื่องจากผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับแฟคเตอร์เข้มข้นที่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้อโรคเพื่อทดแทนแฟคเตอร์แปดหรือแฟคเตอร์เก้าที่ผู้ป่วยขาด สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้ร่วมกับมูลนิธิโรคเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลีย
วิ่งสนุก สุขภาพดี...เพื่อผู้ป่วยโรคไตและโรคฮีโมฟีเลีย
วิ่งสนุก สุขภาพดี...เพื่อผู้ป่วยโรคไตและโรคฮีโมฟีเลีย
– ภญ.ทิพวรรณ จิตพิมลมาศ ผู้จัดการประจำประเทศไทย บริษัท แบ็กซ์เตอร์เฮลธ์แคร์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า Oct 2016
ภาพข่าว: “แบ็กซ์เตอร์ รัน ฟอร์
ภาพข่าว: “แบ็กซ์เตอร์ รัน ฟอร์
ฟันด์” ปี4 วิ่งสนุก สุขภาพดี...เพื่อผู้ป่วยโรคไตและโรคฮีโมฟีเลีย – Oct 2016
ชีวิตดีได้...แม้กายป่วย –
ชีวิตดีได้...แม้กายป่วย –
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ มูลนิธิโรคเลือดออกง่าย (ฮีโมฟีเลีย) แห่งประเทศไทย May 2015