ปัจจุบันความอ้วนหรือโรคอ้วน ได้ถูกกำหนดให้เป็นโรคอย่างหนึ่งที่ต้องการดูแลและรักษา ทั้งนี้เพราะโรคอ้วนสามารถทำให้เกิดโรคต่างๆ ได้หลายโรค องค์การอนามัยโลก ได้ให้คำนิยามของโรคอ้วนไว้ว่า เป็นภาวะที่ร่างกายมีการสะสมไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกายเกินปกติ จนเป็นปัจจัยเสี่ยงหรือเป็นสาเหตุให้เกิดโรคที่ส่งผลต่อสุขภาพเป็นความเจ็บป่วย และอาจเป็นสาเหตุให้เสียชีวิตได้
โรคอ้วนลงพุง (Metabolic Syndrome) เป็นชนิดที่พบบ่อย และเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคต่างๆ ได้มากมาย วินิจฉัยได้จากการตรวจร่างกายและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ต้องตรวจพบอย่างน้อย 3 ใน 5 ข้อ
1. การวัดขนาดรอบเอว บริเวณสะดือในท่ายืนเท้าทั้ง 2 ข้าง ห่างกัน 10 เซนติเมตร ช่วงหายใจออก
* เพศชาย ไม่เกิน 90 เซนติเมตร เพศหญิง ไม่เกิน 80 เซนติเมตร
2. ระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) ? 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
3. ระดับไขมัน HDL cholesterol
< 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ในเพศชาย
< 50 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ในเพศหญิง
4. ระดับความดันโลหิตมากกว่า ? 130/85 มิลลิเมตรปรอท
5. ระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร ? 100 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
สาเหตุของโรคอ้วน
โรคอ้วน ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง, ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ, โรคเบาหวาน, โรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคไตเรื้อรัง, โรคมะเร็ง (มะเร็งเยื่อบุมดลูก, รังไข่, มะเร็งเต้านม, มะเร็งลำไส้) ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ, กรดไหลย้อน, โรคข้อเข่าเสื่อม, โรคประจำเดือนผิดปกติ
การรักษาโรคอ้วน การควบคุมน้ำหนักตัว ด้วยการหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีปริมาณน้ำตาลหรือแอลกอฮอล์สูง กินอาหารแต่ละมื้อให้ปริมาณลดลง ค่อยๆ ลดโดยเฉพาะอาหารประเภทแป้งและไขมัน เพิ่มอาหารประเภทเส้นใย เช่น ผักและผลไม้ที่ไม่หวาน , ไม่กินจุกจิก เคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจำวันให้มากขึ้น เช่น ใช้บันไดแทนลิฟต์ พยายามออกกำลังกายทุกวันอย่างน้อย 30 นาที ตรวจร่างกายเพื่อดูว่ามีโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากความอ้วนหรือยัง เช่น เบาหวาน , ไขมันในเลือดสูง หรือการใช้ยาเพื่อลดน้ำหนักตัว คลิกอ่านข้อมูล >>https://www.ram-hosp.co.th/news_detail/1771
** อย่างไรก็ตามการลดน้ำหนักที่ยั่งยืนที่สุดก็คือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทานอาหาร ทานอาหารในปริมาณที่เหมาะสม หลีกเลี่ยงอาหารมัน อาหารทอด และออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอ
องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนดให้ทุกวันที่ 24-30 เมษายนของทุกปีถือเป็น "สัปดาห์การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโลก" ซึ่งเป็นแคมเปญด้านสาธารณสุขระดับโลกเพื่อสร้างความตระหนักรู้และส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันโรค โดยในปีนี้ได้กำหนดธีม "Immunization for All is Humanly Possible" เพื่อย้ำถึงความสำคัญของการสร้างภูมิคุ้มกันทั่วโลกสำหรับทุกคนว่าเป็นสิ่งที่มนุษย์สามารถทำได้ ด้วยความมุ่งหวังให้ผู้คนทุกช่วงวัย ตั้งแต่เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ได้รับการปกป้องจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนมากยิ่งขึ้น
แอสตร้าเซนเนก้า เผยความสำเร็จในการใช้ AI คัดกรองมะเร็งปอดจากภาพเอกซเรย์ เสริมความมั่นคงด้านสุขภาพที่ยั่งยืน
—
จากสถิติองค์การอนามัยโลกพบว่ามะเร็งปอดเป็นสา...
ผู้แทนองค์การอนามัยโลกปลาบปลื้มพระมหากรุณาธิคุณ สืบสานโครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารก เร่งป้องกันปัญหาการคลอดก่อนกำหนด
—
ผู้แทนองค์การอนามัยโลกปลาบปลื้...
การต่อสู้กับวัณโรค: ทำไมการป้องกันจึงเป็นสิ่งสำคัญ
—
องค์การอนามัยโลก (WHO) รายงานว่า วัณโรค (TB) อาจกลายเป็นสาเหตุการเสียชีวิตหลักจากการติดเชื้อทั่วโลก...
สธ. จับมือภาคีหนุนส่งนมแม่ฟรี ดันเป้าเด็กแรกเกิดกินนมแม่ 6 เดือนแรก มากกว่าร้อยละ 50
—
นายเดชอิศม์ ขาวทอง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวในโอกาสเ...
นมแม่มีประโยชน์ กรมอนามัย แนะ ทารก ตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
—
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เผย นมแม่มีสารอาหารที่มีประโยชน์ แนะ ทารกกินน...
"Check PD" แอปพลิเคชันตรวจหาความเสี่ยงเป็นพาร์กินสัน รู้เร็ว รักษาไว เพื่อให้คนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดี
—
หากเอ่ยถึง "โรคพาร์กินสัน" ภาพการรับรู้ของหลายคนจะม...
กทม. เตรียมพร้อมติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์อหิวาตกโรค-แนะยึดหลัก "กินร้อน ช้อนกลาง หมั่นล้างมือ"
—
นางเลิศลักษณ์ ลีลาเรืองแสง ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ (สนพ.)...
งานประกาศผลการประกวดคลิปสั้น The PAUSE Project : eyes up phone down เดินเท้าปลอดภัย
—
สำนักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับองค์การอนามัยโล...
องค์การอนามัยโลกจับมือประเทศไทย และ 194 ประเทศ เร่งสร้างฉันทมติดันความเสมอภาคสุขภาพช่องปากเป็นวาระโลก
—
ประเทศไทย โดย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จัดประชุม...