ถ้าตั้งคำถามว่า เคยเช็คท่านอนของคุณว่าถูกต้องหรือไม่? กว่า 90% ตอบว่าไม่เคย แค่หัวถึงหมอนก็หลับกันแล้วใช่ไหมคะ แต่รู้หรือไม่ อาการปวดต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะปวดหลัง ไหล่ ต้นเหตุคือเกิดจากการนอนในท่าที่ไม่ถูกต้อง คุณเพ็ญพิชชากร แสนคำ นักกายภาพบำบัดจาก คลินิกกายภาพบำบัดอริยะ ชั้น 1 ไลฟ์เซ็นเตอร์ (คิวเฮ้าส์ ลุมพินี) จะมาไขข้อข้องใจเกี่ยวกับท่าการนอนมีผลหรือเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดอาการปวด ซึ่ง 3 ท่านี้ที่เราไม่ควรนอน คือ
ลองปรับมานอนท่านอนที่ถูกต้องนะคะ ซึ่งท่านอนที่ถูกต้องคือท่านอนหงาย และจะต้องมีหมอนซับพอร์ตตั้งแต่ศีรษะจนถึงบริเวณต้นไหล่ รองรับโค้งกระดูกคอ เพื่อให้มีการพยุงกล้ามเนื้อตั้งแต่บริเวณท้ายทอย กล้ามเนื้อต้นคอตลอดจนถึงกล้ามเนื้อบริเวณบ่าและหัวไหล่ทั้งสองข้าง และมีหมอนรองใต้เข่าเพื่อช่วยลดหลังแอ่นและลดอาการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อบริเวณหลังได้ นอกจากนี้ท่านอนที่ถูกต้องยังช่วยลดแรงกดทับต่อข้อต่อต่างๆในร่างกายได้ด้วย ทำให้ร่างกายมีการผ่อนคลายได้อย่างเต็มที่ ตื่นมาก็สบายตัว
การปรับเปลี่ยนในช่วงแรกอาจจะดูยาก เพราะร่างกายไม่เคยชิน แต่ถ้าทำบ่อยๆ อาจจะค่อยๆปรับในช่วงแรกของการนอน ร่างกายก็จะเริ่มคุ้นชิน จนสามารถปรับได้ตลอดทั้งคืน ซึ่งถ้าเราสามารถปรับเปลี่ยนได้ ก็จะส่งผลในระยะยาวที่จะช่วยลดอาการปวดที่เกิดขึ้นในอนาคตได้ ถือว่าคุ้มค่านะคะ
โรคเบาหวาน (Diabetes) ที่เราคุ้นเคยกันจะเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งเป็นโรคที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ (60-110 mg/dL) แบบเรื้อรัง โดยปกติอินซูลิน (Insulin) จะเป็นตัวนำน้ำตาลเข้าสู่เซลล์ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดปกติ แต่ถ้ามีความผิดปกติของตับอ่อน ทำให้ผลิตอินซูลินได้น้อยลง หรือมีภาวะดื้ออินซูลิน ก็จะทำให้น้ำตาลในเลือดสูงหรือเป็นโรคเบาหวานนั่นเอง พญ.กฤดากร เกษรคำ แพทย์ American Board of Anti-Aging Medicine จาก Addlife Anti-Aging Center ชั้น 2 ไลฟ์เซ็นเตอร์ (คิวเฮ้าส์ ลุมพินี)j ได้อธิบายเพิ่มเติม
คู่มือดูแลตัวเองในวัย 40
—
ใครบ้างคะ...ที่ช่วงนี้กำลังอินกับพระเอกหนุ่มใหญ่ซีรีส์เกาหลี แม้อายุจะเข้าเลข 4 แต่ก็ยังหล่อโอปป้า ทำสาวไทยใจละลาย...
พุงของคุณเป็นแบบไหน
—
ใครเป็นบ้างคะ ช่วงมีงานสังสรรค์จัดเต็มมากทั้งอาหาร แอลกอฮอล์ น้ำหนักขึ้นมาหลายกิโล ลงพุง หน้าท้องเริ่มออก พุงเริ่มเป็นชั้นๆ ลองสัง...
อาหารที่ดีต่อหัวใจ
—
เดือนแห่งความรักนี้ มาลองเช็คสุขภาพหัวใจกันหน่อยค่า หัวใจแข็งแรงดีอยู่ไหม? เพราะหัวใจเป็นอวัยวะที่สำคัญ การรักษาสุขภาพหัวใจเป็น...
ตรวจสุขภาพเชิงป้องกันสำหรับผู้สูงวัยสำคัญอย่างไร?
—
เริ่มต้นปีใหม่มาดูแลสุขภาพกันตั้งแต่ต้นปีด้วยการตรวจสุขภาพกันนะคะ ตรวจสุขภาพประจำปีเป็นสิ่งจำเป็นเพ...
เปิดลิสต์ 7 อาหารช่วยชะลอวัย
—
อยากมีสุขภาพดีไม่ใช่เรื่องยาก ยุคนี้มีตัวช่วยมากมายทั้งวิตามินเทคโนโลยี แต่ถ้าอยากชะลอวัยแบบง่ายๆ ทำได้ด้วยตัวเอง สามารถ...
แบคทีเรียในลำไส้กับการเกิดโรค
—
ในร่างกายของมนุษย์เรามีจุลินทรีย์และแบคทีเรียในลำไส้มากถึง 100 ล้านล้านตัว มีทั้งที่เป็นตัวดีและตัวไม่ดี แล้วรู้ไหมคะว่า...
เคล็ดไม่ลับแก้อาการอ่อนเพลียระหว่างวัน
—
คงปฎิเสธไม่ได้ว่า "ความอ่อนเพลียระหว่างวัน" คือศัตรูตัวร้ายของวัยทำงานโดยเฉพาะ ในช่วงเวลาหลังพักเที...
อาหารสำหรับวัยทอง
—
เมื่อเข้าสู่วัยทองหรือช่วงอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป ร่างกายก็เริ่มผลิตฮอร์โมนทางเพศได้ไม่เหมือนเดิม นำมาซึ่งอาการผิดปกติมากมาย ไม่ว่าจะ...
ตรวจส่องกล้องทางเดินอาหาร จำเป็นไหม ใครควรตรวจ?
—
การตรวจสุขภาพพื้นฐานเป็นสิ่งที่ควรตรวจเป็นประจำทุกปี เพื่อป้องกันความเสี่ยงก่อนที่จะเกิดโรค และนอกจ...