ข่าวประชาสัมพันธ์บรรเทาปัญหาภัยแล้ง | newswit

PPPGC ผนึกกำลังสร้างฝายชะลอน้ำในหมู่บ้าน
PPPGC ผนึกกำลังสร้างฝายชะลอน้ำในหมู่บ้าน
บรรเทาปัญหาภัยแล้ง-ลดภัยพิบัติชุมชน – 02 Aug
“น้ำบาดาล” เขต 10 อุดรธานี ตั้งศูนย์ประสานงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ง 6 จังหวัดภาคอีสานตอนบน – ดังนั้น นายวัฒนชัย ทุมโคตร ผู้อำนวยการสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี จึงจัดตั้งศูนย์ประสานงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ง ปี พ.ศ. 2561 ภายในพื้นที่สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 10 อุดรธานี เลขที่ 134 หมู่ 14 ตำบลหนองนาคำ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี และขยายจุดเพิ่มเติมอีก 1 แห่ง ที่ถนนศูนย์ราชการ ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ซึ่งศูนย์ประสานงานฯ ทั้ง 2 แห่ง
“น้ำบาดาล” เขต 1 ลำปาง ตั้งศูนย์ประสานงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ง 8 จังหวัดภาคเหนือ – สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 1 ลำปาง ได้จัดตั้งศูนย์ประสานงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ง ภายในพื้นที่สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 1 ลำปาง เลขที่ 430 หมู่ที่ 2 ตำบลศาลา อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง รับผิดชอบพื้นที่ 8 จังหวัดทางภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ และน่าน
ฝนหลวงฯ ปรับแผนปฏิบัติภารกิจช่วยพื้นที่แล้ง
ฝนหลวงฯ ปรับแผนปฏิบัติภารกิจช่วยพื้นที่แล้ง
จ.ราชบุรี พร้อมสนับสนุนฐานเติมสารฝนหลวงให้ภาคกลาง – วันที่ 15 พฤษภาคม 2560 เวลา 12.00 น. นายสุรสีห์ กิตติมณฑล May 2017
กระทรวงเกษตรฯ เผยผลการปฏิบัติการฝนหลวงช่วยบรรเทาปัญหาหมอกควันและภัยแล้ง ย้ำเฝ้าติดตามสภาพอากาศอย่างใกล้ชิด เมื่อพร้อมเตรียมขึ้นบินทันที – ทั้งนี้ ศูนย์ปฏิบัติการฝนหลวงภาคเหนือได้เปิดหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจำนวน 2 หน่วย ได้แก่ หน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจังหวัดเชียงใหม่ และหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจังหวัดพิษณุโลก ตามแผนปฏิบัติการฝนหลวงเพื่อป้องกันและแก้ไขภัยแล้ง(ระยะที่ 2) และแผนการบรรเทาหมอกควันและไฟป่า ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2559 รวมทั้ง ได้จัดตั้งฐานเติมสารฝนหลวง จำนวน 2
ปภ.บริหารจัดการตามมาตรการบรรเทาปัญหาภัยแล้งอย่างเข้มข้น – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า ขณะนี้หลายพื้นที่ของประเทศประสบปัญหา ภัยแล้ง โดยมีจังหวัดประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) 13 จังหวัด รวม 60 อำเภอ 333 ตำบล 3,092 หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 4.12 ของจำนวนหมู่บ้านทั่วประเทศ แยกเป็น พื้นที่ขาดแคลนน้ำด้านการเกษตร 12 จังหวัด ได้แก่ พิษณุโลก เชียงราย มหาสารคาม สระแก้ว
รัฐมนตรีเกษตร สั่งการกรมฝนหลวงฯ จัดชุดปฏิบัติการพิเศษเมื่อสภาพอากาศเอื้ออำนวย ช่วงปลายเดือนนี้ เพื่อเติมน้ำในเขื่อนหลักพื้นที่ภาคกลางและตะวันตก บรรเทาสภาวะแล้ง – ด้านนายสุเทพ น้อยไพโรจน์ อธิบดีกรมชลประทาน กล่าวเพิ่มเติมถึงสถานการณ์น้ำในเขื่อนหลักในลุ่มเจ้าพระยา 4 แห่งว่า ยังมีความมั่นคงและสามารถบริหารจัดการได้ตามแผน จากปริมาณน้ำใช้การได้ประมาณ 3,600 ล้าน ลบ.ม. โดยขณะนี้เป็นช่วงที่จะเข้าสู่หน้าแล้งอย่างเต็มตัว
“น้ำบาดาล – กนอ.” MOU ให้ความร่วมมือบรรเทาปัญหาภัยแล้ง
“น้ำบาดาล – กนอ.” MOU ให้ความร่วมมือบรรเทาปัญหาภัยแล้ง
สำรวจและพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลในนิคมอุตสาหกรรม สร้างความมั่นใจผู้ประกอบการและนักลงทุน – วันที่ 30 ธันวาคม 2558 เวลา Jan 2016
สศท.2 เผยผลติดตาม 1ตำบล1ล้าน จ.ตาก ขุดลอกคูคลอง สร้างประโยชน์ชุมชน 370 ครัวเรือน – นายชวพฤฒ อินทรเทศ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก (สศท.2) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยถึงการลงพื้นที่ติดตามประเมินผลโครงการสร้างรายได้และพัฒนาการเกษตร แก่ชุมชนเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง (1 ตำบล 1 ล้านบาท) ในโครงการขุดลอกคลองประดางกั้นฝายกระสอบทรายวางกล่องลวดตาข่าย ตำบลนาโบสถ์ อำเภอวังเจ้า จังหวัดตาก
กระทรวงเกษตรฯ แจงผลการดำเนินงานบริหารจัดการน้ำและมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร
กระทรวงเกษตรฯ แจงผลการดำเนินงานบริหารจัดการน้ำและมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร
เพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง พร้อมเตรียมมาตรการรับมือฤดูการผลิตหน้า หวังรับมือภัยแล้งระยะยาว – นายปีติพงศ์ Aug 2015
บุก 58 จังหวัด เกาะติดโครงการสร้างรายได้ฯ หลังสิ้นสุดโครงการ สศก. แจงผลประเมินในพื้นที่ – นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า จากการที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ดำเนินงานโครงการสร้างรายได้และพัฒนาการเกษตรแก่ชุมชนเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง ซึ่ง สศก. รับผิดชอบประเมินผลโครงการดังกล่าวในช่วงระหว่างการดำเนินงานโครงการ โดยได้ลงสำรวจข้อมูลในพื้นที่โครงการของชุมชน 516 โครงการ
เอสซีจี ชวนคนไทยประหยัดน้ำ จับมือกองทัพบก จัด “เอสซีจี รวมใจสู้ภัยแล้ง” เร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัย – นายอาสา สารสิน กรรมการ และประธานคณะกรรมการกิจการสังคมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เอสซีจี กล่าวว่า จากสถานการณ์ภัยแล้งที่เกิดขึ้น ส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนของประเทศ เอสซีจีเล็งเห็นถึงความจำเป็นเร่งด่วนที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมบรรเทาความเดือดร้อนให้กับผู้ประสบภัย จึงร่วมมือกับกองทัพบก จัดโครงการ “เอสซีจี รวมใจสู้ภัยแล้ง”
ก.เกษตรฯ แจงคีบหน้าโครงการสร้างรายได้ฯ บรรเทาภัยแล้ง แก้ปัญหาตรงจุด เกิดการมีส่วนร่วมในชุมชน สร้างรายได้ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน – นายสมปอง กล่าวเพิ่มเติมว่า "มีบางโครงการที่ต้องมีการเสนอเข้า ครม.เพื่อขอขยายระยะเวลา เนื่องจากเดิมมีกำหนดระยะเวลาในการสิ้นสุดโครงการคือ 30 มิ.ย. 58 แต่มีปัจจัยด้านสภาพอากาศทำให้บางโครงการไม่สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จทันเวลา จึงจะขอยืดเวลาการดำเนินโครงการออกไปจนถึงสิ้นเดือนส.ค.นี้
ก.เกษตรฯ แจงคืบหน้าโครงการสร้างรายได้ฯ บรรเทาภัยแล้ง แก้ปัญหาตรงจุด เกิดการมีส่วนร่วมในชุมชน สร้างรายได้ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน – นายสมปอง กล่าวเพิ่มเติมว่า "มีบางโครงการที่ต้องมีการเสนอเข้า ครม.เพื่อขอขยายระยะเวลา เนื่องจากเดิมมีกำหนดระยะเวลาในการสิ้นสุดโครงการคือ 30 มิ.ย. 58 แต่มีปัจจัยด้านสภาพอากาศทำให้บางโครงการไม่สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จทันเวลา จึงจะขอยืดเวลาการดำเนินโครงการออกไปจนถึงสิ้นเดือนส.ค.นี้
สศท.8 ชูผลประเมินโครงการสร้างรายได้ฯ 2 จว. เกษตรกรเฮ ! เพิ่มรายได้ ประโยชน์ตรง – นายธรณิศร กลิ่นภักดี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 สุราษฎร์ธานี (สศท. 8) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยถึงผลการประเมินโครงการสร้างรายได้และพัฒนาการเกษตรแก่ชุมชนเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง จังหวัดนครศรีธรรมราช และสุราษฎร์ธานี ทั้งหมด 13 โครงการ โดยสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ทั้งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงเกษตรฯ พอใจโครงการสร้างรายได้ฯ ช่วยเหลือเกษตรกรช่วงภัยแล้ง พร้อมกระตุ้นเศรษฐกิจในท้องถิ่น หนุนต่อยอดโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อเนื่อง – "สำหรับภาพรวมของโครงการฯ ในด้านการช่วยเหลือเกษตรกร ถือเป็นที่น่าพอใจ ขอขอบคุณทุกชุมชนที่ร่วมแสดงความคิดเห็นในการกำหนดกิจกรรมหรือโครงการร่วมกัน ซึ่งล้วนเป็นโครงการที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนของตนเองและขยายผลไปสู่ชุมชนอื่นๆ เช่น การพัฒนาแหล่งน้ำ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านอื่นๆ ทั้งนี้
เกษตรฯ ขานรับนายกฯ เร่งเครื่องกรมฝนหลวงฯ เดินหน้ารุกปฏิบัติการเติมน้ำในเขื่อนและอ่างเก็บน้ำทั่วประเทศ และบรรเทาปัญหาภัยแล้ง – ด้านนายวราวุธ ขันติยานันท์ อธิบดีกรมฝนหลวงและการบินเกษตร กล่าวถึงแผนปฏิบัติการเติมน้ำในเขื่อนและอ่างเก็บน้ำว่า กรมฝนหลวงฯได้สั่งการให้หน่วยปฏิบัติการฝนหลวงทุกหน่วยเร่งทำฝนหลวงเพื่อหล่อเลี้ยงพื้นที่การเกษตรที่ประสบภัยแล้ง พร้อมกับปฏิบัติการเติมน้ำในเขื่อนและอ่างเก็บน้ำให้ได้มากที่สุด
ก.เกษตรฯ พิจารณาโครงการสร้างรายได้ฯ บรรเทาภัยแล้ง ครบตามเป้า 3,051 ตำบล 6,598 โครงการ คาดงบประมาณที่รออนุมัติถึงมือเกษตรกรภายใน 30 เม.ย. นี้ – นายสมปอง กล่าวเพิ่มเติมว่า “สำหรับพื้นที่ที่ไม่เสนอโครงการมีทั้งหมด 7 ตำบล ได้แก่ 1. ตำบลศรีบุญเรือง อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 2. ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร 3. ตำบลสำนักบก อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 4. ตำบลพระพุทธบาท อำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี 5. ตำบลขุนโขลน
ก.เกษตรฯ เดินหน้ามาตรการติดตามผล โครงการสร้างรายได้ฯ ตำบลละไม่เกิน 1 ล้าน ชี้ทุกกิจกรรม เน้นถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ยุติธรรม และตรวจสอบได้ – นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร กล่าวเพิ่มเติมว่า ในส่วนของกรมส่งเสริมการเกษตรทุกกิจกรรม เน้นถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ยุติธรรม และตรวจสอบได้ เพื่อให้พื้นที่ประสบปัญหาภัยแล้งซ้ำซากได้รับประโยชน์โดยตรงและทั่วถึง ขอบคุณหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ดีเดย์ 20 เมษายนนี้ สศก. จัดทีมลงพื้นที่ทั่วประเทศ ติดตามโครงการสร้างรายได้บรรเทาปัญหาภัยแล้ง – นายสุรศักดิ์ พันธ์นพ รองเลขาธิการและโฆษกสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า จากที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2558 อนุมัติให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ดำเนินโครงการสร้างรายได้และพัฒนาการเกษตรแก่ชุมชนเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มอบหมายให้ สศก. รับผิดชอบในการประเมินผลโครงการดังกล่าว
ก.เกษตรฯ พิจารณาแผนปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณโครงการสร้างรายได้และพัฒนาการเกษตรแก่ชุมชนเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง ระดับกระทรวง ครั้งที่ 4 จำนวน 3,392 โครงการ งบประมาณ 1,603.192 ล้านบาท – นายสมปอง อินทร์ทอง รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังการประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการสร้างรายได้และพัฒนาการเกษตรแก่ชุมชนเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง ระดับกระทรวง ว่า จากการพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณโครงการฯ ในครั้งที่ 4 คณะกรรมการบริหารโครงการฯ ระดับกระทรวง ให้ความเห็นชอบรวม 28 จังหวัด
ปลัดเกษตร พิจารณาแผนปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณโครงการสร้างรายได้และพัฒนาการเกษตรแก่ชุมชนเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง ระดับกระทรวง ครั้งที่ 3 – นายชวลิต ชูขจร ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังการประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการสร้างรายได้และพัฒนาการเกษตรแก่ชุมชน เพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง ระดับกระทรวง ว่า จากการพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณโครงการฯ ในครั้งที่ 3 คณะกรรมการบริหารโครงการฯ ระดับกระทรวง ให้ความเห็นชอบรวม 23 จังหวัด 134 อำเภอ 337 ตำบล จำนวน 750 โครงการ รวมเป็นงบประมาณ
สศก. เตรียมแผนลงพื้นที่ทั่วประเทศ ประเมินผลโครงการสร้างรายได้เพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง – นายสุรศักดิ์ พันธ์นพ รองเลขาธิการและโฆษกสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่าตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบโครงการสร้างรายได้และพัฒนาการเกษตรแก่ชุมชนเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง บรรเทาความเดือดร้อนและช่วยเหลือเกษตรกรในพื้นที่ประสบปัญหาภัยแล้งซ้ำซาก โดยเน้นกิจกรรมการจ้างงานที่สร้างรายได้ให้แก่ชุมชนเกษตรกร
เกษตรฯ ระบุ 16 มี.ค.นี้เงินกว่า 100 ล้านกระตุ้นเศรษฐกิจแก้ภัยแล้งซ้ำซากตำบลละล้านถึงชุมชน พร้อมอนุมัติเพิ่มรอบสองอีก 485 โครงการวงเงิน 229 ล้าน คาดเป็นไปตามแผนหลังชุมชนเสนอโครงการเข้าระบบแล้วเกือบ 3 พันโครงการจากเป้าหมาย เตรียมเสนอครม.ทราบความคืบหน้าในอีก – สำหรับความคืบหน้าแผนการพิจารณาสนับสนุนโครงการของชุมชนขณะนี้ ซึ่งตามแผนที่กำหนดให้สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนมีนาคม 2558 ทุกศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
ก.เกษตรฯ เร่งพิจารณาโครงการสร้างรายได้ฯเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง นำร่องล็อตแรก 226 โครงการ เตรียมเสนอสำนักงบฯ คาดเงินถึงมือเกษตรกร สิ้นเดือน เม.ย. นี้ – โครงการที่เสนอผ่านคณะกรรมการระดับจังหวัด สู่การพิจารณาระดับกระทรวงนี้ ส่วนใหญ่เป็นโครงการที่เกี่ยวกับการปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบริหารจัดการน้ำ เนื่องจากมีความเข้าใจว่าโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจะต้องเป็นโครงการที่เกี่ยวกับภัยแล้งเท่านั้น ส่วนใหญ่จะนึกถึงการขาดแคลนน้ำ
กระทรวงเกษตรฯ ชู “โครงการสร้างรายได้และพัฒนาการเกษตรแก่ชุมชนเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง” หวังช่วยเหลือเกษตรกรในพื้นที่แล้ง 541 อำเภอ ใน 3,051 ตำบลๆ ละไม่เกิน 1 ล้านบาท – นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร กล่าวเพิ่มเติมว่า “กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดำเนินการแก้ปัญหาภัยแล้งไปแล้ว เช่น การงดปลูกข้าวนาปรังในเขตลุ่มเจ้าพระยา-แม่กลอง ส่วนพื้นที่ 541 อำเภอ จำนวน 3,051 ตำบล ที่ได้ผ่านการสำรวจจากกรมพัฒนาที่ดินแล้วว่าเป็นพื้นที่การเกษตรที่ประสบภัยแล้งซ้ำซาก
ปตท. สนับสนุนน้ำแข็งแห้งแก่โครงการฝนหลวง ร่วมแก้ปัญหาภัยแล้ง – สำหรับน้ำแข็งแห้งที่ ปตท. สนับสนุนมาจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ส่วนที่แยกออกจากก๊าซธรรมชาติก่อนเข้ากระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ โดยน้ำแข็งแห้งเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ในสถานะของแข็งที่อุณหภูมิประมาณ –79 องศาเซลเซียส เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าคาร์บอนไดออกไซด์แข็ง หรือ Solid Carbon Dioxide นำมาผ่านกระบวนการอัดและทำให้เย็นลงภายใต้ความดันสูงกลายเป็นคาร์บอนไดออกไซด์เหลว