“อาร์เอฟเอส” เดินหน้าจัดอบรมหลักสูตร “ME3” มุ่งยกระดับมาตรฐานและพัฒนาทักษะบุคลากรเครื่องมือแพทย์ไทย

ข่าวประชาสัมพันธ์ »

          บริษัท อาร์เอฟเอส จำกัด หรือ RFS บริษัทในเครือมหาวิทยาลัยมหิดลซึ่งจัดตั้งและถือหุ้นโดยคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เพื่อดำเนินงานด้านการบริหารจัดการและอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ ในโรงพยาบาล (Hospital Facilities Management) ร่วมกับ สถาบันอีซีอาร์ไอ (ECRI Institute) เดินหน้าสานต่อโครงการฝึกอบรมเครื่องมือแพทย์ (Biomedical Engineering Competency Training : BECT) ด้วยการจัดอบรมหลักสูตรเครื่องมือแพทย์ "ME3" เครื่องติดตามสัญญาณชีพ ให้แก่บุคลากรด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งและพัฒนาศักยภาพในการใช้งานอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ได้อย่างถูกต้องปลอดภัยตามมาตรฐานสากล อีกทั้งยังเป็นการเตรียมความพร้อมรองรับการแข่งขันในประชมคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ทั้งนี้ผู้เข้าร่วมอบรมจะได้รับความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยเป็นการเรียนทั้งในห้องเรียนและการฝึกปฏิบัติจริงจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านเครื่องมือแพทย์ซึ่งผ่านการรับรองจากสถาบันอีซีอาร์ไอ โดยการอบรมจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 13-14 ตุลาคม 2558 ณ บริษัท อาร์เอฟเอส จำกัด (จำนวนจำกัด) ค่าใช้จ่ายในการอบรม 18,900 บาทตลอดหลักสูตร สำหรับบุคลากรทางการแพทย์ที่สนใจ สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้ถึง 10 ตุลาคม 2558 สามารถสอบถามรายละเอียดการอบรมเพิ่มเติมได้ที่คุณนภาพร โทร. 02-688-6508 หรือ www.rfs.co.th

ข่าววิศวกรรมชีวการแพทย์+โรงพยาบาลรามาธิบดีวันนี้

วิศวะมหิดล จัดเวิร์กชอป "การประมวลผลและวิเคราะห์สัญญาณชีวการแพทย์" (Biomedical Signals Processing and Analysis) สมัครวันนี้ - 19 มิ.ย. 66

สัญญาณต่างๆในร่างกายมนุษย์ นับเป็นเรื่องที่น่าเรียนรู้และเป็นประโยชน์ต่อวงการสุขภาพการแพทย์ยุคใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดย ศูนย์เครือข่ายวิจัยประยุกต์ทางเทคโนโลยีหุ่นยนต์และชีวการแพทย์ (BART LAB) ผู้นำวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งได้รับการรับรองหลักสูตรมาตรฐานโลก จาก ABET สหรัฐอเมริกา ร่วมกับ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลศิริราช จัดงานอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "Biomedical Signals Processing

สร้างความฮือฮาผงาดบนเวทีระดับนานาชาติ เดล... นศ.มหิดล คิดค้นระบบป้องกันน้ำท่วมอัตโนมัติ คว้ารางวัลชนะเลิศ "เดลต้าคัพ 2021" เวทีประชันระบบอัตโนมัติระดับโลก — สร้างความฮือฮาผงาดบนเวทีระดับนานาชาติ เดลต...

คุณพิสิษฐ์ วรรณวิทยาภา (ขวา) ประธานเจ้าหน... PCL ลงนามความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ — คุณพิสิษฐ์ วรรณวิทยาภา (ขวา) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท พี ซี แอล โฮลดิ้...

"สมอง" เป็นอวัยวะที่ไม่สามารถทดแทนได้โดยส... ม.มหิดล สร้างสรรค์แอปพลิเคชัน"Brain Track" เพื่อคนไทยห่างไกลภาวะสมองเสื่อม — "สมอง" เป็นอวัยวะที่ไม่สามารถทดแทนได้โดยสมบูรณ์จำเป็นต้องได้รับการดูแลไม่ให้เ...

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahid... วิศวะมหิดล เดินหน้าโครงการ "ยกระดับสถานพยาบาลด้วยเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ" แก่ 6 โรงพยาบาล — คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol Engineering) ผู้นำวิศ...

ไม่มีใครยอมปล่อยให้บุคคลที่เรารักต้องกลาย... ม.มหิดล เชื่อมั่นใช้เทคโนโลยีวิศวกรรมชีวการแพทย์ยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยไทย เข้าถึงการรักษา และชีวิตยืนยาว — ไม่มีใครยอมปล่อยให้บุคคลที่เรารักต้องกลายเป็...

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการ... สายหวานมีเฮ! วช. นำเครื่องวัดระดับน้ำตาลชนิดพกพาแบบไม่ต้องเจาะเลือด โชว์เวที NRCT Talk — สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิ...

หากสามารถทำให้แพทย์เป็นทั้ง "ผู้สร้าง" แล... ม.มหิดล เปิดเว็บไซต์ AIThaiGen สร้างนักเรียน-ครูพันธุ์ใหม่ ใส่ใจเทคโนโลยีแห่งอนาคต — หากสามารถทำให้แพทย์เป็นทั้ง "ผู้สร้าง" และ "ผู้ใช้" เทคโนโลยีด้วยความ...

ทุกสิ่งบนโลกล้วนมีทั้งคุณและโทษขึ้นอยู่กั... ม.มหิดลสร้างสรรค์และพัฒนาอุปกรณ์เทียบวัดสมรรถนะหัวเก็บภาพอัลตราซาวด์ ทางเลือกวินิจฉัยปลอดภัยจากรังสี — ทุกสิ่งบนโลกล้วนมีทั้งคุณและโทษขึ้นอยู่กับความเหมาะ...

นวัตกรรมและวิศวกรรมชีวการแพทย์ (BioMedica... วิศวะมหิดล - ม.สแตรธไคลด์ มอบทุนศึกษา 'วิศวกรรมชีวการแพทย์' สร้างนวัตกร...สู่อุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์นานาชาติ — นวัตกรรมและวิศวกรรมชีวการแพทย์ (BioMedica...