กิจกรรมบำบัด
แผนกกิจกรรมบำบัด คือ วิชาชีพทางวิทยาศาสตร์สุขภาพที่ทำงานเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตตลอดทุกช่วงวัยของมนุษย์ โดยมุ่งให้ผู้รับบริการสามารถดูแลตนเอง เพื่อให้กลับมาทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีความหมายและมีคุณค่า ขอบข่ายงานกิจกรรมบำบัด มีดังนี้
- กระตุ้นการกลืน (Swallowing Training)
- กระตุ้นการรู้ การคิด และความจำ (Cognitive Training)
- การทำงานของแขนและมือ (Hand Function Training)
- การฝึกกิจวัตรประจำวัน (ADL Training) รวมถึงดัดแปลงอุปกรณ์ช่วยและอุปกรณ์เสริมในการทำกิจวัตรประจำวัน เช่น การใช้ช้อนทานข้าว การฝึกใส่เสื้อให้ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นต้น
- กระตุ้นทักษะการสื่อสารและการพูดเบื้องต้น (Pre-Speech Training)
- กระตุ้นการรับความรู้สึกหรือยับยั้งการรับความรู้สึกที่ผิดปกติ (Sensory Re-education/Desensitize)
- กิจกรรมยามว่างเพื่อบำบัด (Leisure Activity)
- ให้คำแนะนำในการดัดแปลงสภาพบ้านและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ละรายกลุ่มผู้รับบริการ
1. ผู้ป่วยระบบประสาท
- โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)
- การได้รับอุบัติเหตุทางสมอง (Traumatic brain injury: TBI)
- ผู้ได้รับบาดเจ็บไขสันหลัง (Spinal cord injury: SCI)
- โรคเสื่อมสภาพ (Neurodegenerative disease) เช่น Multiple Sclerosis, Parkinson's disease, Amyotrophic Lateral Sclerosis, Guillain Barre Syndrome
2. ผู้ป่วยทางระบบโครงสร้างของร่างกายกล้ามเนื้อและผิวหนัง เช่น โรครูมาตอยด์ กระดูกหัก การตัดแขน/ขา ไฟไหม้/น้ำร้อนลวก เป็นต้น
3. ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่มือและแขน อันมีสาเหตุมาจากการได้รับบาดเจ็บหรือสาเหตุอื่นที่ทำให้เส้นประสาทส่วนปลาย กล้ามเนื้อและ กระดูกทำงานบกพร่อง เช่น Brachial Plexus Injury, Radial Nerve Injury, Medial Nerve Injury, Ulnar Nerve Injury
4. ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับหัวใจและเมตาลิซึมของร่างกาย เช่น ผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน เป็นต้น
ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูหลอดเลือดสมอง (อาคาร 2) Tel: 02-412-0999, 064-249-6818แผนกกายภาพบำบัด (อาคาร 2) Tel : 095-579-7364บริการทุกวัน 8.00-18.00 น.
ความดันโลหิตสูง (Hypertension: HTN) เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดที่พบได้บ่อยที่สุดทั่วโลก และเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สามารถป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ และโรคไต รวมถึงการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับโรคเหล่านี้ ตามข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก (WHO) คนไทยวัยผู้ใหญ่กว่า 1 ใน 4 มีภาวะความดันโลหิตสูง แต่มีเพียง 30% เท่านั้นที่สามารถควบคุมความดันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โรคนี้จึงนับว่าเป็น "ภัยเงียบ" เพราะผู้ป่วยส่วนใหญ่มักไม่รู้ตัว เนื่องจากไม่แสดงอาการใด ๆ โดยจากผลการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย
อัลไซเมอร์-พาร์กินสัน-หลอดเลือดสมอง 3 โรคร้าย ทำลายสมองแบบไม่รู้ตัว!!! เตือนคนไทยอย่าชะล่าใจ "สมองป่วยได้" และอาจเปลี่ยนชีวิตทั้งชีวิต
—
"สมอง" จะเป็นอวัย...
"Cryoablation จี้ไฟฟ้าหัวใจด้วยบอลลูนเย็น 3 มิติ รักษา "หัวใจเต้นผิดจังหวะ"
—
Cryoablation เป็นเทคนิคการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ทันสมัยและปลอดภัย โด...
แบรนด์ซุปไก่สกัด ผนึกกำลัง รพ. กรุงเทพอินเตอร์เนชั่นแนล จุดประกายภารกิจครั้งใหญ่ ยกระดับความรู้ ปกป้องคนไทยจากโรคหลอดเลือดสมอง ภัยเงียบที่ต้องรู้ทัน!
—
แบรนด์ซุปไก...
พีทีที สเตชั่น ร่วมกับ โรงพยาบาลศิริราช เปิดพื้นที่เป็นจุดจอดรถ Mobile Stroke Unit ขยายโอกาสช่วยชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในพื้นที่ห่างไกล
—
คุณพิมาน พู...
ธ.ทิสโก้ จัด Exclusive Night " Wealth & Health Forum 2025 " เชิญผู้บริหาร 4 บลจ. เจาะเทรนด์ลงทุน - 3 อาจารย์แพทย์อัปเดตนวัตกรรมรักษา NCDs
—
ธนาคารทิสโก้ จ...
3 อาการปวดหัวอันตราย! เสี่ยง "โรคหลอดเลือดสมอง"
—
3 อาการปวดหัวอันตราย! เสี่ยง "โรคหลอดเลือดสมอง" หลายคนอาจมองว่าอาการปวดหัวเป็นเรื่องปกติ แต่รู้หรือไม่?...
หัวใจเต้นผิดจังหวะ AF กับความเสี่ยง หลอดเลือดสมองอุดตัน
—
หลายคนอาจยังไม่ทราบว่า โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด AF (Atrial Fibrillation) สามารถเป็นต้นเหตุของภา...
รพ.กรุงเทพ ฉลองความสำเร็จกับรางวัล GREAT PLACE TO WORK พร้อมเปิดตัว DR.HEALTH AVATAR ตัวแทนความสุขยกระดับสุขภาพ
—
โรงพยาบาลกรุงเทพ สำนักงานใหญ่ คว้ารางวัล...