ตรวจหาปริมาณแคลเซียมในหลอดเลือดหัวใจ ได้แล้วที่โรงพยาบาลธนบุรี 2

ข่าวประชาสัมพันธ์ »

โรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน เป็นภัยเงียบที่คร่าชีวิตคนไทยอย่างต่อเนื่องอาการที่สังเกตได้ คือ อาการเจ็บหน้าอก เหนื่อย

ตรวจหาปริมาณแคลเซียมในหลอดเลือดหัวใจ ได้แล้วที่โรงพยาบาลธนบุรี 2

กลุ่มผู้เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน เกิดจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจวายเฉียบพลัน เนื่องจากมีการสะสมไขมันในผนังหลอดเลือด

และมีการสะสมของแคลเซียมหรือหินปูน

ใครที่ควรเข้ารับการตรวจปริมาณแคลเซียมในหลอดเลือดหัวใจ

  • ผู้ที่มีอายุมากกว่า 45 ปี
  • ผู้มีปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง, อ้วน, สูบบุหรี่
  • ผู้ที่มีประวัติบุคคลในครอบครัวเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด

ตรวจหาปริมาณแคลเซียมในหลอดเลือดหัวใจ (CT Calcium Score) ด้วยเครื่องเอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง พร้อมให้บริการแล้วที่โรงพยาบาลธนบุรี 2

ราคา 2,500 บาท (ราคาปกติ 7,810 บาท) ตั้งแต่วันนี้ถึง 30 ธันวาคม 2565

เงื่อนไข

1. ราคารวมค่าแพทย์เฉพาะทางโรคหัวใจ ค่ายาควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ และค่าบริการโรงพยาบาลแล้ว

2. กรุณานัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการเท่านั้น

3. เงื่อนไขเป็นตามที่โรงพยาบาลกำหนด

ช้อปออนไลน์ คลิก : https://shop.line.me/@thonburi2hospital/product/1002236467

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คลินิกอายุรกรรม โทร. 02 487 2100 ต่อ 5166, 5167

Website: https://www.thonburi2hospital.com/
TikTok: @thonburi2hospital
Line: @Thonburi2hospital
Facebook: Thonburi2Hospital โรงพยาบาลธนบุรี2


ข่าวโรคหัวใจและหลอดเลือด+หลอดเลือดหัวใจตีบวันนี้

ขยายหลอดเลือดหัวใจตีบหรือตัน.. ด้วยการใช้หัวกรอฝังเพชร (Rotablator)

หลอดเลือดหัวใจ มีความสำคัญอย่างมากต่ออวัยวะที่เรียกว่า "หัวใจ" ซึ่งเป็นศูนย์กลางการควบคุมการทำงานของอวัยวะภายในร่างกาย โดยหลอดเลือดหัวใจทำหน้าที่หลักสำหรับส่งเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจทุกส่วน หากหลอดเลือดหัวใจเกิดความผิดปกติ จะส่งผลต่อหัวใจและอวัยวะอื่นๆ นพ.สุรพงษ์ วรสุวรรณรักษ์ อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด เฉพาะทางหัตถการปฏิบัติและรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด แพทย์หัวหน้าศูนย์หัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลหัวเฉียว กล่าวว่า ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา คนไทยมีแนวโน้มการเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด

การตรวจหัวใจด้วยเทคโนโลยี Cardiac MRI บอก... จะรู้ได้อย่างไรว่าคุณเป็นโรคหัวใจหรือเปล่า? — การตรวจหัวใจด้วยเทคโนโลยี Cardiac MRI บอกเราได้ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้การตรวจหัวใจด้วย Cardiac MRI...

โดย นพ.ดำรงค์ สุกิจปัญญาโรจน์ อายุรแพทย์โ... ผู้สูงวัย เสี่ยง!! โรคหัวใจ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ — โดย นพ.ดำรงค์ สุกิจปัญญาโรจน์ อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด สถาบันหัวใจเพอร์เฟคฮาร์ท โรงพยาบาลปิยะ...

สถาบันโรคหัวใจมอนทรีออลค้นพบวิธีรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดจำเพาะบุคคลเป็นแห่งแรกของโลก

- ผู้ป่วยที่มีพันธุกรรมเหมาะสมและตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาตัวใหม่ จะมีอัตราการเกิดหัวใจวายและอัตราการเสียชีวิตลดลงอย่างมีนัยสำคัญ คณะนักวิจัยจากสถาบันโรคหัวใจมอนทรีออล (Montreal Heart Institute) เผยผลการวิจัยซึ่งแสดง...

Resverlogix ปิดรับผู้ป่วยเข้าร่วมการทดลอง ASSURE

- ข้อมูลจาก IVUS จะประเมินการลดลงของคราบพลัคในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ - Resverlogix ซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์โทรอนโต (TSX: RVX) Resverlogix Corp. (TSX:RVX) ประกาศว่า การรับสมัครผู้ป่วยเข้าร่วมการทดลอง ASSURE ซึ่งเป็นการทดลองทางคลินิกขั้น 2b ...

"โรคลิ้นหัวใจ" นับเป็นปัญหาสำคัญที่สัมพัน... โรคลิ้นหัวใจเอออร์ติก…ภัยร้ายที่อาจมองข้าม รู้ทันสัญญาณอันตราย! ก่อนสายเกินแก้ — "โรคลิ้นหัวใจ" นับเป็นปัญหาสำคัญที่สัมพันธ์กับสังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย ...

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ขอเชิญพย... ขอเชิญชวนพยาบาลและบุคลากรสุขภาพเข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ECG Interpretation and Nursing Care — คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ขอเชิญพยาบาลและบ...

เพราะทุกจังหวะของหัวใจมีค่า และทุกชีวิตสม... "OPEN BOX for OPEN HEART" คอนเสิร์ตแห่งการให้ รวมพลังศิลปินช่วยชีวิตผู้ป่วยโรคหัวใจ 200 ราย — เพราะทุกจังหวะของหัวใจมีค่า และทุกชีวิตสมควรได้รับโอกาสให้หั...