จากการขึ้นดอกเบี้ยอย่างรวดเร็วของธนาคารกลางหลายแห่งทั่วโลกเพื่อควบคุมเงินเฟ้อ ส่งผลถึงวิกฤติในธนาคารบางรายในสหรัฐและยุโรป ธุรกิจธนาคารกำลังเผชิญกับความท้าทายอย่างมากจากกรณีผู้ลงทุนและ ผู้ฝากเงินขาดความเชื่อมั่นในความแข็งแกร่งของธนาคาร แต่อย่างไรก็ตาม หน่วยงานภาครัฐและธนาคารกลางได้เข้ามาให้ความช่วยเหลืออย่างรวดเร็วเพื่อไม่ให้ลุกลามในวงกว้าง นอกจากนี้ สถานการณ์ปัจจุบันยังแตกต่างจากช่วงวิกฤติ subprime ในปี 2008 โดยปัจจุบันธนาคารเรียนรู้จากบทเรียนในอดีตทำให้มีการบริหารความเสี่ยง และถูกกำกับดูแลโดยภาครัฐอย่างเข้มงวดมากขึ้น แม้ปัจจัยดังกล่าวจะส่งผลต่อตลาดหุ้นทั่วโลกแต่ตลาดหุ้นไทยยังแข็งแกร่งจากปัจจัยภายในประเทศ และเศรษฐกิจไทยที่มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง
นายศรพล ตุลยะเสถียร รองผู้จัดการ หัวหน้าสายงานวางแผนกลยุทธ์องค์กร ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ในเดือนมีนาคม 2566 มีเงินลงทุนเคลื่อนย้ายออกจากตลาดหุ้นหลายแห่งในภูมิภาค รวมถึงตลาดหุ้นไทยที่ผู้ลงทุนต่างชาติพลิกกลับมาขายสุทธิเป็นเดือนที่สองจากที่เคยซื้อสุทธิต่อเนื่อง ค่าเงินบาทมีแนวโน้มอ่อนค่าสอดคล้องกับทิศทางการส่งออกที่ชะลอตัว อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง จากภาคการท่องเที่ยว และการบริโภคภาคเอกชน ด้านอัตราเงินเฟ้อทั่วไปมีแนวโน้มเริ่มกลับเข้าสู่กรอบเป้าหมายในช่วงกลางปีนี้ อีกทั้งระบบการเงินโดยรวมมีเสถียรภาพ โดยปัญหาสถาบันการเงินในประเทศเศรษฐกิจหลัก ในช่วงที่ผ่านมาไม่ได้ส่งผลต่อระบบการเงินไทยอย่างมีนัยสำคัญทำให้เห็น Fund Flow ไหลมายังตลาดพันธบัตรไทย
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ไทย
ภาวะตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
ในเดือนตุลาคมปี 2566 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ปรับลดคาดการณ์ GDP ไทยในปี 2566 อยู่ที่ 2.7% จากเดิม 3.4% และในปี 2567 อยู่ที่ 3.2% จากเดิม 3.6% สาเหตุหลักมาจากการเติบโต GDP ในไตรมาส 2/2566 ที่ขยายตัวต่ำกว่าคาดตามการฟื้นตัวของภาคท่องเที่ยวที่ล่าช้าและการส่งออกที่ชะลอตัว อย่างไรก็ดี IMF คาดว่าสถานการณ์ของไทยจะเริ่มปรับตัวดีขึ้น นายศรพล ตุลยะเสถียร รองผู้จัดการ หัวหน้าสายงานวางแผนกลยุทธ์องค์กร ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ตั้งแต่เดือนกันยายนปี 2566 ผู้ลงทุนมีความกังวลจากการปรับ
FETCO IAA ตลาดหลักทรัพย์ฯ ขอเชิญร่วมสัมมนา "โอกาสหุ้นไทย ภายใต้เศรษฐกิจโลกผันผวน" 8 พ.ย. นี้
—
สภาธุรกิจตลาดทุนไทย (FETCO) สมาคมนักวิเคราะห์การลงทุน (IAA)...
สรุปภาพรวมภาวะตลาดหลักทรัพย์เดือนธันวาคม 2565
—
แม้ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ ปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเพื่อควบคุมเงินเฟ้อ อีกทั้งความเสี่...
สรุปภาพรวมภาวะตลาดหลักทรัพย์เดือนพฤศจิกายน 2565
—
หลังจากธนาคารกลางสหรัฐฯ ทำการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ทำให้เงินเฟ้อทั่วไปของสหรัฐฯ ...
สรุปภาพรวมภาวะตลาดหลักทรัพย์เดือนตุลาคม 2565
—
ตัวเลขเศรษฐกิจจริงของประเทศสหรัฐฯ กลับมาขยายตัวในไตรมาส 3 ปี 2565 ขณะที่เงินเฟ้อทั่วไปเริ่ม ชะลอลงแ...
สรุปภาพรวมภาวะตลาดหลักทรัพย์เดือนกันยายน 2565
—
ผลการประชุมของคณะกรรมการนโยบายการเงินของสหรัฐ (FOMC) สะท้อนมุมมองว่าธนาคารกลางสหรัฐต้องการควบคุมเงินเฟ้อ...
สรุปภาพรวมภาวะตลาดหลักทรัพย์เดือนกรกฎาคม 2565
—
จากปัญหาด้านห่วงโซ่อุปทานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกที่ปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง หลายประเทศเผชิญกับภาวะ...
สรุปภาพรวมภาวะตลาดหลักทรัพย์เดือนพฤษภาคม 2565
—
ความกังวลจากอัตราเงินเฟ้อที่เร่งตัวสูงขึ้นทำให้ธนาคารหลายแห่งทั่วโลกจำเป็นต้องใช้นโยบายการเงินแบบตึ...
สรุปภาพรวมภาวะตลาดหลักทรัพย์เดือนมีนาคม 2565
—
ผลกระทบจากมาตรการคว่ำบาตรรัสเซียทำให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ต่างๆ ปรับตัวสูงขึ้นมาก และส่งผลให้ราคาสินทรัพย์...