ข่าวประชาสัมพันธ์ยุทธศาสตร์สินค้าเกษตร | newswit

กยท. ร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สินค้าเกษตร
กยท. ร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สินค้าเกษตร
5 ชนิด มุ่งแก้ปัญหารายได้ชาวสวนยางอย่างยั่งยืน ส่งเสริมใช้ยางในประเทศ – นายเยี่ยม ถาวโรฤทธิ์ Nov 2018
กระทรวงเกษตรฯ เร่งจัดระเบียบโรงฆ่าสัตว์และยกมาตรฐานอาหารปลอดภัย พร้อมชูโครงการ “ปศุสัตว์ OK” เพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตเนื้อสัตว์ – น.สพ.สรวิศ ธานีโต กล่าวเพิ่มเติมว่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมปศุสัตว์ จึงได้ดำเนินการจัดระเบียบโรงฆ่าสัตว์และยกมาตรฐานอาหารปลอดภัย ในช่วงปี 2558 - 2559 มีผลการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมาย ได้แก่ การจับกุมดำเนินคดีโรงฆ่าสัตว์เถื่อน 190 แห่ง การยกเลิกใบอนุญาต 142 แห่ง การพักใช้ใบอนุญาต 3 แห่ง แจ้งเตือนให้ปรับปรุง 200 แห่ง
ก.เกษตร ยุทธศาสตร์สินค้าเกษตร 4 สินค้า – นายชวลิต ชูขจร ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังการประชุมการหารือแนวทางการจัดทำโครงการและงบประมาณภายใต้ยุทธศาสตร์สินค้าเกษตร 4 สินค้า ว่า จากมติคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ (กรอ) ครั้งที่ 1/2558 เห็นชอบ (ร่าง) ยุทธศาสตร์สินค้าเกษตร 4 สินค้า ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง ผลิตภัณฑ์ปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม อ้อยโรงงานและน้ำตาลทราย
โรดแมปปาล์มพร้อมขับเคลื่อน สศก. ชู ยุทธศาสตร์ 4 ระยะสู่ความยั่งยืน – นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยในฐานะประธานคณะทำงานจัดทำยุทธศาสตร์ปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม (Roadmap) ถึงผลการดำเนินงานจัดทำยุทธศาสตร์ปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มว่า ขณะนี้ร่างยุทธศาสตร์ฉบับสุดท้าย ได้ผลสรุปแล้ว ก่อนเสนอคณะอนุกรรมการร่วมจัดทำยุทธศาสตร์สินค้าเกษตรเป็นรายพืชเศรษฐกิจ 4
ร่วมเดินหน้าโรดแมพ 4 สินค้าเกษตร เกษตรฯ เร่งยุทธศาสตร์ครบทุกมิติสู่ความยั่งยืน – นาย อนันต์ ลิลา เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เปิดเผยว่า จากที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการร่วมจัดทำยุทธศาสตร์ สินค้าเกษตรเป็นรายพืชเศรษฐกิจ 4 สินค้า (Roadmap) คือ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน และอ้อย โดยมี พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รองหัวหน้าฝ่ายเศรษฐกิจ เป็นประธาน
“ยุคล” เร่งปรับโซนนิ่ง ปลูกอ้อยแทนพื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสม ให้ทัน 15 พ.ย. นี้ พร้อมกำหนดยุทธศาสตร์สินค้าเกษตรของไทยให้มีคุณภาพและเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น – ปัจจุบันโรงงานน้ำตาลทั้งประเทศมีศักยภาพในการผลิตน้ำตาล 13 ล้านตัน แต่ผลิตได้เพียงประมาณ 100 ล้านตัน โดยมีพื้นที่ปลูกอ้อยประมาณ 10 ล้านไร่ จึงทำให้โรงงานน้ำตาลยังมีความต้องการขอพื้นที่ปลูกอ้อยอีก 3 ล้านไร่ เพื่อสอดคล้องกับศักยภาพของโรงงานนอกจากนี้ นายยุคล ยังกล่าวอีกว่า