Q&A กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เมื่อมีคำถามมาก็มีคำตอบไป – บริษัทเปิดมากี่ปีถึงจะตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้ไม่มีการกำหนด หากบริษัทเล็งเห็นถึงประโยชน์ที่พนักงานจะได้รับจากการมีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สามารถทำได้ทันทีหากปีที่ต้องการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริษัทมีผลประกอบการขาดทุน สามารถตั้งกองทุนได้หรือไม่ บริษัทสามารถตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้ เนื่องจากการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพไม่ได้มีข้อกำหนดเกี่ยวกับผลประกอบการของบริษัท
ก.ล.ต. เปิดรับฟังความคิดเห็นการแก้ไข พ.ร.บ. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ – ตามที่ ก.ล.ต. ได้ดำเนินการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ พ.ร.บ. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ รวมทั้งได้เปิดรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับการเสนอปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อให้สอดรับกับการออมภาคบังคับของแรงงานภาคเอกชนในระบบไปแล้ว
ก.ล.ต. เปิดรับฟังความเห็นการกำหนดหลักเกณฑ์ให้ บลจ. จัดให้มีข้อมูลสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อจ่ายเงินให้ในยามเกษียณหรือสิ้นสมาชิกภาพ – ตามที่กำหนดในมาตรา 23 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ว่าเมื่อลูกจ้างสิ้นสมาชิกภาพเพราะเหตุอื่นซึ่งไม่ใช่กองทุนเลิก ผู้จัดการกองทุนต้องจ่ายเงินจากกองทุนให้แก่สมาชิกตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในข้อบังคับกองทุน และตามที่กำหนดในมาตรา 23/1
ก.ล.ต. มีแนวคิดปรับปรุงการเปิดเผยและรายงานข้อมูลนโยบายการลงทุนของ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพิ่มเติม – ในปัจจุบันสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้พัฒนาหลักเกณฑ์การเปิดเผยการรายงานสรุปข้อมูลสำคัญของนโยบายการลงทุน (factsheet) ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประเภทหลายนายจ้างที่ไม่ได้เป็นบริษัทในเครือเดียวกัน (pooled fund) โดยกำหนดให้บริษัทจัดการลงทุน (บลจ.) เปิดเผย factsheet ต่อสาธารณะและจัดส่งต่อ ก.ล.ต. ทุกงวด 6
ก.ล.ต. ปรับปรุงระบบการรับจดทะเบียน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ใช้เทคโนโลยีลดขั้นตอน - เพิ่มความสะดวก – นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กล่าวว่า ก.ล.ต. ได้ปรับปรุงระบบการรับจดทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Online Fund Approval and Management System for Provident Fund: OFAM PVD) เพื่อสนับสนุนและลดขั้นตอนงานที่เกี่ยวข้องกับการรับจดทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ