คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ รถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแอร์พอร์ตลิงค์ แถลงข่าวในหัวข้อ “แอร์พอร์ตลิงค์ไม่ปลอดภัยจริงหรือ? ปัญหาระบบงานซ่อมบำรุงระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในประเทศไทย”

ข่าวประชาสัมพันธ์ »
          คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ รถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแอร์พอร์ตลิงค์ ขอเชิญสื่อมวลชนร่วมงานแถลงข่าวในหัวข้อ  “แอร์พอร์ตลิงค์ไม่ปลอดภัยจริงหรือ? ปัญหาระบบงานซ่อมบำรุงระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในประเทศไทย”
          โดยได้รับเกียรติจาก รศ.ทพ.นพ.ดร.สิทธิชัย ทัดศรี รองอธิการบดี จุฬาฯ เป็นประธานในการจัดงานครั้งนี้
          ร่วมนำเสนอข้อมูลโดย
          ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
          ผศ.ดร.ประมวล สุธีจารุวัฒน ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
          ผศ.ดร.บุญชัย แสงเพชรงาม ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
          อ.ดร.นักสิทธิ์ นุ่มวงษ์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
          พร้อมด้วยทีมผู้บริหารระดับสูงของ รถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแอร์พอร์ตลิงค์

          ในวันจันทร์ที่ 25 สิงหาคม 2557 เวลา 09.30 – 11.00 น.
          ณ ห้องประชุม 202 อาคารจามจุรี 4 ชั้น 2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
          (สามารถจอดรถได้บริเวณอาคารจอดรถด้านหน้าบัณฑิตวิทยาลัย)

          กำหนดการ
          เวลา 09.30 น. - สื่อมวลชนลงทะเบียน
          เวลา 10.00 น. - รศ.ทพ.นพ.ดร.สิทธิชัย ทัดศรี รองอธิการบดี จุฬาฯ 
          กล่าวเปิดการแถลงข่าว
          - ผู้ร่วมแถลงข่าวให้ข้อมูลเรื่อง “แอร์พอร์ตลิงค์ไม่ปลอดภัยจริงหรือ? 
          ปัญหาระบบงานซ่อมบำรุงระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในประเทศไทย” 
          - ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ 
          คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ 
          - ผศ.ดร.ประมวล สุธีจารุวัฒน 
          ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ 
          - ผศ.ดร.บุญชัย แสงเพชรงาม 
          ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
          - อ.ดร.นักสิทธิ์ นุ่มวงษ์ 
          ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
          - ผู้บริหารรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแอร์พอร์ตลิงค์
          เวลา 11.00 น. คณะผู้บริหารตอบข้อซักถามสื่อมวลชน


ข่าวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย+ประมวล สุธีจารุวัฒนวันนี้

แผนยุทธศาสตร์ชาติฉบับบูรณาการ: พลิกวิกฤตประชากรไทย สู่โอกาสแห่งอนาคต

บทความนี้เป็นบทความที่เกิดจากการตั้งคำถามเพื่อถาม Chula GENIE ซึ่งเป็นแพลตฟอร์ม Generative AI ที่พัฒนาขึ้นโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมมือกับ Google Cloud เกี่ยวกับวิกฤตประชากรไทย จากภาวะที่สังคมไทยอยู่ในสถานการณ์ ตายมากกว่าเกิดตั้งแต่พ.ศ. 2564 ซึ่งเป็นวิกฤตทางประชากรที่จะทำให้ประชากรไทยลดลงอย่างรวดเร็ว ตามคำถามที่จะได้ยกขึ้นถามจีนี่ต่อไปนี้ คำถาม มีการคาดประมาณประชากรไทยโดยใช้ โปรแกรม Spectrum 6 โดยมีประชากรฐานปี 2023 อยู่ 66.054 ล้านคน TFR เริ่มที่ 1.16 และลดลงเหลือ 0.5

นางสมบัติศิริ เชาวกุล (ที่ 2 จากขวา) กรรม... efin Group ผนึกจุฬาฯ เสริมทักษะฮาร์ดแวร์-ซอฟต์แวร์ ปั้นกำลังคนยุค AI — นางสมบัติศิริ เชาวกุล (ที่ 2 จากขวา) กรรมการ บริษัท ออนไลน์แอสเซ็ท จำกัด หรือ efin ...

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ สำนักงานจัด... จุฬาฯ ยกพื้นที่สยามสแควร์ให้เกษตรกรไทยขายสินค้าเกษตรคุณภาพ ส่งตรงจากฟาร์มไกลสู่ใจกลางเมือง — จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ สำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงก...

โรงพยาบาลหัวเฉียว ร่วมกับ ชีวามิตร จัดการ... โรงพยาบาลหัวเฉียว จัดการบรรยายวิชาการ เรื่อง "Palliative care" — โรงพยาบาลหัวเฉียว ร่วมกับ ชีวามิตร จัดการบรรยายวิชาการ เรื่อง "Palliative Care" โดยได้รับ...