ปภ.เตือน 5 สิ่งของอันตรายที่ไม่ควรจัดเก็บไว้ในห้องโดยสาร...เสี่ยงอันตรายร้ายแรง

ข่าวประชาสัมพันธ์ »

          กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เตือน 5 สิ่งของอันตรายที่ไม่ควรจัดเก็บ ในห้องโดยสาร ดังนี้ ไฟแช็ก หากถูกแสงแดดเป็นเวลานาน จะทำให้เกิดการระเบิดได้ กระป๋องสเปรย์ เมื่อถูกความร้อน จะเกิดการระเบิดได้ แบตเตอรี่สำรอง เมื่อได้รับความร้อน ส่งผลให้เกิดการระเบิดได้ โทรศัพท์มือถือ ความร้อนทำให้วงจรภายในโทรศัพท์ได้รับความเสียหาย และแบตเตอรี่โทรศัพท์เกิดการระเบิด น้ำแข็งแห้ง เมื่อน้ำแข็งแห้งระเหิดจะกลายเป็นก๊าซคาร์บอนไอออกไซด์ ทำให้ผู้ที่อยู่ในห้องโดยสารหมดสติได้
          นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กล่าวว่า ผู้ขับขี่ส่วนใหญ่ มักจัดเก็บสิ่งของต่างๆ ไว้ในห้องโดยสาร โดยเฉพาะสิ่งของอันตราย หากจัดเก็บไม่ถูกวิธี เมื่อได้รับความร้อนอาจทำให้เกิดระเบิด หรือเพลิงไหม้ ก่อให้เกิดอันตรายได้ เพื่อความปลอดภัย กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ขอเตือนสิ่งของอันตรายที่ไม่ควรจัดเก็บในห้องโดยสาร ดังนี้ ไฟแช็ก หากถูกแสงแดดกระทบเป็นเวลานาน จะทำให้เกิดการระเบิด ที่อาจส่งผลให้กระจกรถยนต์แตกร้าว หากวางไว้บนคอนโซลรถ จะเสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้กระป๋องสเปรย์ เมื่อถูกความร้อนจะทำให้วัตถุ สารเคมี และแก๊สในกระป๋องขยายตัว จึงเกิดประกายไฟหรือระเบิดได้แบตเตอรี่สำรอง สารลิเธียมในแบตเตอรี่สำรองเป็นโลหะที่ไวต่อปฏิกิริยาทางเคมี เมื่อได้รับความร้อน อาจทำให้เกิดการลัดวงจร ส่งผลให้เกิดการระเบิดได้ โทรศัพท์มือถือ ความร้อนทำให้วงจรภายในโทรศัพท์ได้รับความเสียหาย และแบตเตอรี่โทรศัพท์เกิดการระเบิด โดยเฉพาะหากเปิดใช้งาน จะทำให้ความร้อนสูงขึ้น จึงเสี่ยงต่อการระเบิดได้น้ำแข็งแห้ง เมื่อน้ำแข็งแห้งระเบิดจะกลายเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทำให้ผู้ที่อยู่ในห้องโดยสารหมดสติ เพื่อความปลอดภัย ควรเก็บไว้ในภาชนะที่มีช่องระบายอากาศ แยกจากห้องโดยสาร หากเก็บในห้องโดยสาร ควรเปิดกระจกรถ เพื่อระบายอากาศออกสู่ภายนอก ทั้งนี้ สิ่งของหลายประเภทไม่ควรนำมาเก็บไว้ ในห้องโดยสารรถยนต์ เพราะนอกจากจะทำให้สิ่งของเสียหายแล้ว ยังทำให้ผู้ที่อยู่ในห้องโดยสารเสี่ยงต่อการได้รับอันตรายอีกด้วย
 
 

ข่าวกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย+ฉัตรชัย พรหมเลิศวันนี้

NT ร่วม ปภ. ทดสอบระบบ Cell Broadcast ในพื้นที่ครั้งแรก แจ้งผลมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ครอบคลุม เสริมความพร้อมระบบเตือนภัยแห่งชาติ

บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) หรือ NT ร่วมกับ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทดสอบระบบแจ้งเตือนภัยพิบัติผ่านเทคโนโลยี Cell Broadcast เป็นครั้งแรกของประเทศในลักษณะเสมือนจริงในพื้นที่ระดับเล็ก ภายในอาคารและบริเวณโดยรอบ ประกอบด้วย ศาลากลางจังหวัดเชียงราย ศาลากลางจังหวัดสุพรรณบุรี ศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี ศาลากลางจังหวัดสงขลา และอาคารศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา กรุงเทพมหานคร โดยผลการทดสอบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถส่งข้อความแจ้งเตือนไปยัง

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ร่วมกั... NT ยืนยันความพร้อม ร่วมทดสอบระบบแจ้งเตือนภัย Cell Broadcast ในพื้นที่จริง — กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้...

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้นำด้านดิจิทัลทรานส... ชไนเดอร์ อิเล็คทริค แนะ 7 วิธี เช็กระบบไฟฟ้า เพิ่มความปลอดภัย รับมือหยุดยาวเทศกาลสงกรานต์ — ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้นำด้านดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชั่น ในการจัดก...

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มอบทีม SEhRT ป... 'ภัยแล้ง' ทีม SEhRT กรมอนามัย-สสจ.-ท้องถิ่น เตรียมพร้อมรับมือพื้นที่ขาดแคลนน้ำ — กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มอบทีม SEhRT ประสานภารกิจร่วมกับสำนักงานสาธารณ...

เทศกาลสงกรานต์เป็นช่วงเวลาแห่งความสุขและก... สงกรานต์นี้ เดินทางอย่างไร้กังวล! FWD ประกันชีวิต แจกประกันอุบัติเหตุฟรี 30,000 สิทธิ์ — เทศกาลสงกรานต์เป็นช่วงเวลาแห่งความสุขและการเดินทาง เพื่อช่วยลดควา...

นางสาวกาญจนา ภูพิพัฒน์ผล รองผู้อำนวยการสำ... กทม. เดินหน้ากำจัดปลาหมอคางดำ ลดผลกระทบเกษตรกร-แปรรูปสร้างรายได้ — นางสาวกาญจนา ภูพิพัฒน์ผล รองผู้อำนวยการสำนักพัฒนาสังคม รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักพั...

นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระ... กทม. เร่งถ่ายเทไหลเวียนน้ำในคลองช่องนนทรี เตรียมขุดลอกดินเลน-ทำความสะอาดท่อลอด — นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ (สนน.) กทม. กล่าวชี้แจงกร...

กทม. เตรียมพร้อมระบบระบายน้ำรองรับสถานการณ์ฝน

นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ (สนน.) กทม. กล่าวกรณีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) แจ้งเตือนสถานการณ์น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และน้ำท่วมขังว่า กทม. ได้จัดทำแผนเตรียมความพร้อมด้านระบบระบายน้ำ เพื่อรองรับสถานการณ์ฝนตกหนัก โดยใช้แผน...