หลายคนอาจจะมีความเข้าใจว่า ปัญหาสุขภาพอย่างเรื่องกลั้นปัสสาวะไม่ได้เป็นเพียงปัญหาเฉพาะผู้สูงอายุหรือผู้ป่วยเท่านั้น จริงๆ แล้วผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคทางสมอง โรคซึมเศร้า ก็อาจทำให้เกิดภาวะ "กลั้นปัสสาวะไม่อยู่" ได้ด้วยเหมือนกัน
"กลั้นปัสสาวะไม่ได้"…สัญญาณทางร่างกายที่เราต้องฟัง
ผู้ที่มีความเสี่ยงจากภาวะเช่นนี้ สังเกตอาการเริ่มต้นได้ง่ายๆ คือ ปัสสาวะบ่อยมากกว่า 8 ครั้งต่อวัน แถมยังมีอาการปัสสาวะเล็ด เมื่อไอ จาม หัวเราะ หรือทำกิจกรรมที่ต้องเคลื่อนไหว ปวดปัสสาวะเมื่อไหร่ต้องเข้าห้องน้ำทันที และมีอาการเหมือนปัสสาวะไม่สุดอยู่เสมอจนถึงอาการหนักคือ กลั้นไม่ได้เลย ราดทันทีเมื่อปวดปัสสาวะ
เรามาดูกันว่าปัจจัยเสี่ยงสู่ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ มีอะไรบ้าง
เทคนิคป้องกันปัญหา "กลั้นปัสสาวะไม่ได้" ทำอย่างไรดี?
อย่างไรก็ตามถึงแม้ภาวะดังกล่าวจะสร้างความกังวลใจและสร้างปัญหาในการใช้ชีวิตประจำวัน แต่เราสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้โดยการบริหารกล้ามเนื้อหูรูดให้แข็งแรง ซึ่งมีวิธีง่ายๆ ดังนี้
จะเห็นว่าอาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ สามารถส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน และอาจส่งผลให้สูญเสียโอกาสบางอย่างในชีวิต เช่น ไม่สามารถเดินทางไปสถานที่ไกลๆได้ เพราะมีข้อจำกัดด้านห้องน้ำ อาจนอนหลับไม่สนิทเพราะกังวลเรื่องการปัสสาวะ และอาจส่งผลให้กลายเป็นคนไม่ชอบออกไปข้างนอก และไม่กล้าเข้าสังคมไปในที่สุด
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันนี้ มีผลิตภัณฑ์ที่เป็นตัวช่วยสำหรับผู้ที่กำลังเผชิญกับความกังวลเรื่องปัสสาวะต่างๆ รวมถึงปัญหาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ นั่นก็คือ กางเกงซึมซับ ที่ช่วยให้คุณได้กลับมาใช้ชีวิตอย่างมีความสุขเหมือนเดิม โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาปัสสาวะอีกต่อไป
การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์กางเกงซึมซับนั้น ควรมั่นใจว่าเป็นผลิตภัณฑ์มีคุณภาพที่ดี มีกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน อย่างกางเกงซึมซับจาก เซอร์เทนตี้ (Certainty) ที่ใส่สบาย มี เทคโนโลยี Air Dry ที่ไม่เพียงช่วยให้คุณรู้สึกแห้งสบายไม่อับชื้น แต่ยังมั่นใจในทุกกิจกรรมที่ทำ โดยไม่ต้องกังวลเรื่องการรั่วซึม นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติ 3 พลัส คือ ลดแบคทีเรีย ลดกลิ่น สัมผัสนุ่มสบายผิว พร้อมขอบขาตั้งป้องกันการรั่วซึม ช่วยให้คุณคลายกังวลเรื่องปัญหาปัสสาวะไปได้เลย
ปัญหาเรื่องปัสสาวะเป็นสิ่งที่สามารถเกิดขึ้นได้ ไม่เพียงแต่กับผู้สูงอายุ อย่าลืมหมั่นสังเกตพฤติกรรมและอาการของตัวคุณเอง ที่สำคัญหากท่านที่มีปัญหาในการกลั้นปัสสาวะ ลองเลือกผลิตภัณฑ์กางเกงซึมซับเป็นตัวช่วยเพื่อให้คุณใช้ทุกเวลาแห่งความสุขร่วมกับคนที่คุณรักได้อย่างเต็มที่ พร้อมมั่นใจในทุกกิจกรรมที่ทำได้โดยไร้กังวล ทุกที่ ทุกเวลา
จากรายงานของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ปัจจุบัน มีผู้ป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-5 สูงถึงกว่า 1,000,000 ราย ซึ่งผู้ป่วยโรคไตนั้น จะต้องลดอาหารที่มีส่วนผสมของโซเดียมและโพแทสเซียม เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะไตวายเฉียบพลัน ที่ผ่านมาสถาบันโภชนาการหลายแห่ง ทั้งในไทยและต่างประเทศ มีความพยายามที่จะใช้นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์และโภชนาการในการลดปริมาณโซเดียมและโพแทสเซียมที่ผู้ป่วยได้รับให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม หากแต่ในอาหารเป็นจำนวนมากมีทั้งโซเดียมและโพแทสเซียมอยู่แทบทั้งสิ้น โดยเฉพาะใน
ขอเชิญร่วมกิจกรรมตรวจสุขภาพฟรี เนื่องในวันพยาบาลแห่งชาติ
—
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช ขอเชิญชวนประชาชนผู้สนใจท...
DKSH ร่วมกับ ฮาสเทน ไบโอฟาร์มาซูติคอล ผนึกกำลังเดินหน้าสร้างการเติบโตทางธุรกิจอย่างยั่งยืนในประเทศไทย
—
DKSH ได้รับความไว้วางใจจาก ฮาสเทน ไบโอฟาร์มาซูติคอ...
รู้ยัง!! ป่วยเป็นโรคเหล่านี้ พบหมอบนมือถือได้ กทปส. พาอัปสกิลความรู้สุขภาพคนไทย มั่นใจขึ้นกับการรักษาด้วย "ดีเอ็มเอส เทเลเมดิซีน"
—
แม้ทุกวันนี้ผู้คนจำนวน...
โรคความดันโลหิตสูงในมุมมองของแพทย์แผนจีน โดย คลินิกการแพทย์แผนจีนหัวเฉียว
—
"โรคความดันโลหิตสูง" โรคยอดฮิตในผู้สูงอายุ หากมองในทางแพทย์แผนปัจจุบัน สาเหตุข...
รับมือสุขภาพอย่างไรเมื่อ "โลกเดือด" ?
—
รับมือสุขภาพอย่างไรเมื่อ "โลกเดือด" ? หลายคนอาจกำลังกังวลและตกใจกับข่าวที่เลขาธิการสหประชาชาติ (ยูเอ็น) เปิด...
รพ.ไทยนครินทร์ให้การต้อนรับคณะครู นักเรียน โรงเรียนลาซาล กรุงเทพ
—
โรงพยาบาลไทยนครินทร์ให้การต้อนรับคณะครู นักเรียน โรงเรียนลาซาล กรุงเทพ ในโอกาสที่เข้าม...
ม.มหิดล หวังคนไทยห่างไกลภัยจากอาหารรสเค็ม ด้วยนวัตกรรม "ชุดทดสอบความชอบรสเค็ม"
—
ความเค็มไม่ใช่แค่การเติมเกลือลงไปในอาหาร แต่ยังรวมถึงอาหารและขนมที่แฝงไปด...
เปิดตัว เครื่องดื่มรังนกแท้ท่าทอง สูตรใหม่ ไม่มีโซเดียม เพื่อสุขภาพที่ดีกว่าเอาใจคนรักสุขภาพตัวจริง
—
บริษัท ท่าทองรังนก จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย ผลิตภั...
เปลี่ยนมุมมอง ปรับความคิด เปลี่ยนชีวิตกับคุณหมอแอมป์ 5 ประเด็นสำคัญ กับโรคอ้วน ภัยร้ายที่ไม่ได้รับเชิญ
—
องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้นิยามของโรคอ้วน (Obe...