แผลเบาหวาน" ติดเชื้อง่ายหายยาก ... รักษาถูกวิธี "ไม่ต้องตัดขา"

ข่าวประชาสัมพันธ์ »

แผลเบาหวาน" ติดเชื้อง่ายหายยาก ... รักษาถูกวิธี "ไม่ต้องตัดขา"

แผลเบาหวาน" ติดเชื้อง่ายหายยาก ... รักษาถูกวิธี "ไม่ต้องตัดขา"

 ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดแผลที่เท้าและอาจนำไปสู่การถูกตัดขา สถิติที่น่าตกใจคือ ผู้ป่วยที่ถูกตัดขาข้างแรก มีโอกาสสูงถึง 50% ที่จะต้องถูกตัดขาอีกข้าง ในระยะเวลาเพียง 3-5 ปี สาเหตุหลักของแผลเบาหวานที่เท้าเกิดจากระดับน้ำตาลในเลือดสูง ส่งผลต่อระบบต่างๆ ดังนี้

  • เส้นประสาทส่วนปลายเสื่อม ทำให้เท้าชา รู้สึกเสียวซ่าน หรือไม่มีความรู้สึ
  • ผิวหนังแห้งคัน เกิดรอยแตก เกาจนเป็นแผล
  • หลอดเลือดตีบ เลือดไปเลี้ยงเท้าไม่เพียงพอ แผลหายช้า ติดเชื้อง่าย

เมื่อเกิดแผลที่เท้าผู้ป่วยเบาหวานมักไม่รู้สึกเจ็บ ทำให้ไม่รู้ตัว รู้สึกอีกทีแผลก็ลุกลามติดเชื้อยากต่อการรักษา สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน การดูแลเท้าจึงเป็นเรื่องสำคัญที่ไม่ควรละเลย หากสังเกตเห็นว่ามีอาการ เท้าชา ผิวหนังบริเวณเท้ามีสีคล้ำลง หรือเป็นแผลเรื้อรังไม่หาย ควรมาพบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุและรับการรักษาก่อนที่จะเป็นมากขึ้นและอาจต้องถูกตัดเท้า

การรักษาแผลเบาหวานที่เท้าตั้งแต่เนิ่นๆ จะช่วยให้ไม่ต้องตัดขาและลดความเสี่ยงการติดเชื้อ ดังนั้นผู้ป่วยและญาติควรเรียนรู้วิธีการดูแลแผลและป้องกันการเกิดแผล ซึ่งการตระหนักถึงความร้ายแรงของแผลเบาหวานจะช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ปัจจุบันมีการรักษาที่ช่วยลดโอกาสการสูญเสียเท้าจากแผลเบาหวานได้ ด้วยการขยายหลอดเลือดที่ตีบตัน พร้อมสวนหลอดเลือดเพื่อขยายและใส่โครงค้ำยัน เลือดก็จะไหลเวียนไปเลี้ยงเท้าได้สะดวก ทำให้แผลเรื้อรังหายเร็วขึ้น ช่วยให้รักษาเท้าเอาไว้ได้… "แผลเบาหวานที่เท้า รักษาถูกวิธีก็ไม่จำเป็นต้องตัดขา" คลิกอ่าน >> https://www.ram-hosp.co.th/news_detail/2378

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์รักษาแผลเบาหวานที่เท้า โรงพยาบาลรามคำแหง >> https://bit.ly/3M6OLUxโทร. 1512 ต่อ 2110, 2119Line Official : @ramhospital


ข่าวo:member+o:healวันนี้

กรมอนามัยร่วมแถลงข่าว ความสำเร็จของความร่วมมือในการบำบัดยาปฏิชีวนะในน้ำเสียโรงพยาบาล "โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า โรงพยาบาลแห่งแรกของประเทศไทยที่ใช้นวัตกรรมในการบำบัดยาปฏิชีวนะในน้ำเสีย"

แพทย์หญิงอัมพร เบญจพลพิทักษ์ อธิบดีกรมอนามัย พร้อมด้วย ดร. ชานัน ติรณะรัต ผู้อำนวยการกองจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ ศาสตราจารย์ ดร. วันชัย ยอดสุดใจ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นายแพทย์ สกล สุขพรหม ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ร่วมแถลงข่าว ความสำเร็จของความร่วมมือในการบำบัดยาปฏิชีวนะในน้ำเสียโรงพยาบาล "โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า โรงพยาบาลแห่งแรกของประเทศไทยที่ใช้นวัตกรรมในการบำบัดยาปฏิชีวนะในน้ำเสีย" โดยมี นายแพทย์ธิติ

โรคกระดูกคอเสื่อม เกิดจากอายุที่มากขึ้นแล... "ปวดคอ" แบบไหน?... ให้สงสัยหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท — โรคกระดูกคอเสื่อม เกิดจากอายุที่มากขึ้นและการใช้งานคอผิดท่ามาเป็นเวลานาน ซึ่งเดี๋ยวนี้คนที่เป็นโรค...

แพทย์จีนขอแนะนำการกดจุดกระตุ้นน้ำนม 2 จุด... นวดกระตุ้นน้ำนมคุณแม่ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีน — แพทย์จีนขอแนะนำการกดจุดกระตุ้นน้ำนม 2 จุด คือเส้าเจ๋อ (SI1) และ จู๋ซานหลี่ (ST36) โดยกดจุดละ 3-5 นาที...

สถานเอกอัครราชทูตเดนมาร์กประจำประเทศไทย ร... เวทีนโยบายรับมือโรคอ้วนระหว่างเดนมาร์ก-ไทย: ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในวันนี้เพื่อคนรุ่นหลัง — สถานเอกอัครราชทูตเดนมาร์กประจำประเทศไทย ร่วมกับบริษัท โนโว น...

ขี้หงุดหงิด ท้องผูก สิว นอนไม่หลับ ปวดหัว... ขี้หงุดหงิด ท้องผูก สิว นอนไม่หลับ ปวดหัว อาการเหล่านี้มีความสัมพันธ์กันได้อย่างไร ? — ขี้หงุดหงิด ท้องผูก สิว นอนไม่หลับ ปวดหัว อาการเหล่านี้มีความสัมพัน...

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ห่วงประชาชน แน... ป้องกัน 'แอนแทรกซ์' ระบาด กรมอนามัย แนะ 3 วิธี เลือกซื้อ ปรุงประกอบอาหาร — กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ห่วงประชาชน แนะ 3 วิธี ป้องกันการติดเชื้อโรคแอนแทรกซ...

หลายคนมักให้ความสำคัญกับการออกกำลังกาย กา... สุขภาพดี เริ่มต้นที่ลำไส้ ชวนรู้จักความเชื่อมโยงกับสุขภาพที่คาดไม่ถึง — หลายคนมักให้ความสำคัญกับการออกกำลังกาย การกินอาหารที่ดีขึ้น หรือการลดน้ำหนัก แต่อี...

บริษัท เทคโนเมดิคัล จำกัด (มหาชน) หรือ TM... TM แนะนำลูกบอลบริหารกล้ามเนื้อ Massage ball — บริษัท เทคโนเมดิคัล จำกัด (มหาชน) หรือ TM โดย ดร.สุนทรี จรรโลงบุตร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร แนะนำ Massage...