ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ประเทศไทยมักเผชิญกับสภาพอากาศร้อนจัด ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยเฉพาะภาวะ โรคลมแดด (Heat Stroke) ซึ่งเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ที่เกิดจากการได้รับความร้อนมากเกินไป ส่งผลให้อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้นจนระบบควบคุมอุณหภูมิของร่างกายล้มเหลว หากไม่ได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที อาจนำไปสู่ภาวะช็อก (Shock) หรืออวัยวะล้มเหลว (Organ Failure) ได้ บทความให้ความรู้โดย นพ.กิตติภูมิฐ์ กวินโชติไพศาล แพทย์เฉพาะทางเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ศูนย์บริการผู้ป่วยฉุกเฉินและอุบัติเหตุ (Emergency Room) โรงพยาบาลนวเวช ได้อธิบายความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ ปัจจัยเสี่ยง และแนวทางป้องกันโรคลมแดดช่วงสงกรานต์ พร้อมวิธีปฐมพยาบาลผู้ที่มีอาการโรคลมแดด เพื่อดูแลตนเองและคนรอบข้างได้อย่างทันท่วงที
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของโรคลมแดด
โรคลมแดดเกิดจาก การได้รับความร้อนเป็นเวลานาน และร่างกายไม่สามารถระบายความร้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคนี้ ได้แก่
อาการของโรคลมแดด
ระยะเริ่มต้น
ระยะรุนแรง
แนวทางป้องกันโรคลมแดดช่วงสงกรานต์
วิธีปฐมพยาบาลผู้ที่มีอาการโรคลมแดด
หากพบผู้ที่มีอาการของโรคลมแดด ควรรีบให้การช่วยเหลือดังนี้
โรคลมแดดเป็นภาวะที่สามารถป้องกันได้หากมีการเตรียมความพร้อมและปฏิบัติตามแนวทางที่เหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่มีความเสี่ยงสูง การตระหนักถึงอันตรายของอากาศร้อน และการดูแลสุขภาพให้เหมาะสม จะช่วยให้สามารถสนุกสนานกับเทศกาลได้อย่างปลอดภัย ลดความเสี่ยงต่อภาวะฉุกเฉิน และรักษาสุขภาพที่ดีตลอดฤดูร้อน
เพราะทุกวินาทีคือชีวิต "โรงพยาบาลนวเวช" มุ่งมั่นให้บริการทางการแพทย์ที่ดี และเข้าถึงง่าย (Accessible Quality Healthcare) ให้บริการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ด้วยรถพยาบาลฉุกเฉิน (Advance ambulance) พร้อมทีมแพทย์เฉพาะทางเวชศาสตร์ฉุกเฉินและทีมสหสาขาวิชาชีพ (Multidisciplinary Team) ประจำการตลอด 24 ชั่วโมง ควบคู่กับเครื่องมือเทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่ในการช่วยชีวิตคนไข้วิกฤตและผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามรายละเอียดและขอรับคำปรึกษาได้ที่ ศูนย์บริการผู้ป่วยฉุกเฉินและอุบัติเหตุ (Emergency Room) โรงพยาบาลนวเวช โทร. 1507 I Line: @navavej
เนื่องในโอกาสวันสตรีสากล คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) ประเทศเกรนาดา หมู่เกาะเวสต์อินดีส ได้แบ่งปันมุมมองจากการเสวนาล่าสุด ซึ่งมีแพทย์หญิงผู้ทรงคุณวุฒิเข้าร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การเสวนานี้จัดขึ้นโดยสมาคมศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) โดยมีวิทยากรร่วมแลกเปลี่ยนมุมมอง ได้แก่ คุณ Sasha Lake ผู้ช่วยศาสตราจารย์แห่ง SGU, ดร. Kumkum Sarkar Patel แพทย์เฉพาะทางด้านระบบทางเดินอาหารที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการแพทย์, ดร. Jessica Best แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน, ดร. Svjetlana
เดินทางปลอดภัย.. ในช่วงเทศกาลปีใหม่
—
ในช่วงเทศกาลแห่งความสุข ส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ 2568 โรงพยาบาลหัวเฉียวขอส่งความปรารถนาดีต่อทุกท่านให้มีสุขภาพ...
ชวนมารู้จักกับ 10 อาการเจ็บป่วยฉุกเฉินที่พบบ่อยที่สุด!
—
อาการเจ็บป่วย และเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสุขภาพสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน ทุกเวลา และทุกสถานที่ การรู้จ...
เมื่อไหร่ที่คุณควรเรียกรถพยาบาล (When to call ambulance)
—
การเดินทางปัจจุบันทั้งในกรุงเทพ ปริมณฑล หรือต่างจังหวัด อาจเกิดความล่าช้า เนื่องจากการจราจรที่ต...
อันตรายจาก "ไซยาไนด์" สารพิษใกล้ตัว ถึงชีวิตถ้าไม่ระวัง
—
ไซยาไนด์ (Cyanide) เป็นสารเคมีที่มีความเป็นพิษสูง สามารถออกฤทธิ์ได้อย่างรวดเร็วหลังได้รับสารพิษเ...
"ฮีทสโตรก" ภัยเงียบหน้าร้อนที่ไม่ควรมองข้าม
—
ประเทศไทยเป็นประเทศที่อยู่ในเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตร เมื่อเข้าสู่ฤดูร้อนทำให้สภาพอากาศร้อนขึ้นอย่างเห็น...
Heat Stroke โรคลมร้อน อันตรายถึงชีวิต ถ้าไม่ป้องกัน
—
โรคลมร้อนหรือฮีทสโตรก (Heat Stroke) เป็นภาวะวิกฤตที่ร่างกายไม่สามารถปรับตัวหรือควบคุมระดับความร้อนภ...
เอกชล 2 เตรียมความพร้อมแผนปฏิบัติการเชิงรุก Trauma & Emergency อุบัติเหตุและฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง
—
รพ.เอกชล 2 นำโดยนายแพทย์เกศดา จันทร์สว่าง ผอ.ฝ่ายการแ...