ภัยพิบัติทางธรรมชาติเป็นหนึ่งในความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ของมนุษยชาติ ตั้งแต่ไฟป่า แผ่นดินไหว น้ำท่วม ไปจนถึงพายุ ทุกเหตุการณ์ล้วนสร้างความเสียหายมหาศาลต่อชีวิต ทรัพย์สินและเศรษฐกิจ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ได้ก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการพยากรณ์ภัยพิบัติ การแจ้งเตือนล่วงหน้า และการบริหารจัดการภาวะฉุกเฉิน
แต่คำถามที่สำคัญคือ AI พัฒนาไปไกลแค่ไหนแล้วในการช่วยเหลือมนุษย์รับมือกับภัยพิบัติ และยังมีข้อจำกัดอะไรที่ต้องแก้ไขเพื่อให้เทคโนโลยีนี้มีประสิทธิภาพสูงสุด
นางสาวนิรมล ดิเรกมหามงคล กรรมการผู้จัดการ บริษัท LIV-24 ผู้นำด้าน Smart Tech Solutions เปิดเผยว่า ในปัจจุบัน AI ได้ถูกนำมาใช้บ้างแล้วในสามส่วนหลักของการจัดการภัยพิบัติ ได้แก่ การพยากรณ์ การแจ้งเตือน รวมไปถึงการกู้ภัยและบริหารจัดการหลังภัยพิบัติ เทคโนโลยีนี้ได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพที่เหนือกว่ามนุษย์ในบางกรณี โดยเฉพาะในเรื่องของการประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่และการวิเคราะห์เชิงลึก
ข้อจำกัดของ AI ในการจัดการภัยพิบัติ
แม้ว่า AI จะมีบทบาทสำคัญในการรับมือกับภัยพิบัติ แต่ยังมีข้อจำกัดหลายประการที่ต้องได้รับการพัฒนา
อนาคตของ AI ในการรับมือภัยพิบัติ
แม้ว่า AI จะยังมีข้อจำกัด แต่แนวโน้มในอนาคตชี้ให้เห็นว่า สามารถเข้ามาเป็นเครื่องมือหลักในการบริหารจัดการภัยพิบัติ ด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้น เช่น
แม้ว่า AI จะยังไม่สามารถป้องกันภัยพิบัติได้อย่างสมบูรณ์ 100% แต่ความสามารถในการช่วยให้มนุษย์รับมือได้ดีขึ้นและลดความสูญเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพก็ได้พิสูจน์ให้เห็นว่าเทคโนโลยีนี้กำลังก้าวไปสู่อนาคตที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการฟื้นตัวและช่วยให้เรารอดพ้นจากภัยธรรมชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ท้ายที่สุด แม้ AI จะช่วยยกระดับการคาดการณ์และจัดการภัยพิบัติ แต่การพึ่งพาประสบการณ์และการตัดสินใจที่สำคัญของมนุษย์ยังคงเป็นสิ่งสำคัญ อย่าง LIV-24 เอง เรามุ่งพัฒนา 'เทคโนโลยีที่มีหัวใจ' คือการผสานเอไอ กับ การทำงานของมนุษย์เข้าด้วยกัน ในแบบที่ไม่มีใครแทนที่ใคร แต่เข้ามาช่วยส่งเสริมให้ประสิทธิภาพในการทำงานดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ การรับมือกับภัยพิบัติอย่างยั่งยืนจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือในทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นรัฐ เอกชน หรือชุมชน เพื่อร่วมกันวางรากฐานระบบที่พร้อมรับมือกับความท้าทายแห่งอนาคตอย่างแท้จริง และ AI ก็ยังคงเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการรับมือกับภัยพิบัติอย่างมีประสิทธิภาพในหลายมิติ
บมจ.สยามราชธานี หรือ SO เดินหน้ากลยุทธ์เชิงรุก สร้างการเติบโตแบบก้าวกระโดดด้วยการลงทุน "New S-Curve" ล่าสุด ด้วยการผนึก เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ากับบริการบริหารจัดการบุคลากรแบบครบวงจร (Workforce Service Solution) เพื่อยกระดับบริการสู่การเป็น Premium Solution Provider ตอบโจทย์กลุ่มลูกค้าองค์กรระดับบนที่ต้องการความแม่นยำและประสิทธิภาพสูงในยุคดิจิทัล นางสาวกัณธิมา แจ้งวันสุข ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท สยามราชธานี จำกัด (มหาชน) หรือ SO ประกอบการธุรกิจหลัก 2 รูปแบบเพื่อ Transformation
SCGP เผยผลงาน Q1 เติบโต รุกตลาดในประเทศกลุ่มอาเซียน-เสริมพอร์ตสินค้าอุปโภคบริโภค-บริหารต้นทุน ชูแผนปรับตัวไวรับมาตรการภาษี
—
SCGP ประกาศผลการดำเนินงานไตรม...
PwC คาด AI agent จะพลิกโฉมธุรกิจและการจ้างงานในอีก 12 ถึง 24 เดือนข้างหน้า
—
PwC ประเทศไทย คาด 'AI agent' จะถูกนำมาใช้งานในธุรกิจไทยมากขึ้น หลังช่วยเพิ่มผ...
OKMD ประกาศผล แพลตฟอร์มช่วยคนหูหนวก - เอไอออกแบบเสื้อผ้า คว้าชัยประกวด Learn Lab 2025 : Creativity Beyond AI
—
เมื่อเร็วๆ นี้ สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์คว...
สวทช. - สพฐ. - สสวท. สถ. คิกออฟ สร้าง 'ครูแกนนำ' สู่ยุคดิจิทัล ปูทาง AI ในห้องเรียน ด้วย "LEAD Education"
—
ทีมวิจัยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ศูนย์เทคโนโลยีอ...
สคส. ดันไทยก้าวสู่มาตรฐานโลก คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลระดับสากล ร่วมประชุม APEC DESG ครั้งที่ 50 ณ เกาหลีใต้
—
สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (สค...
'Super AI Engineer Season 5' รวมพลังรัฐ-เอกชน-ประชาสังคม ปั้นบุคลากร AI เสริมขีดความสามารถแข่งขันไทย
—
สมาคมปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย (AIAT), หน่วยบริหารและจ...
"มทร.ล้านนา" เติมทักษะรู้เท่าทัน รอบรู้ เข้าใจการใช้ AI แก่นศ. อาจารย์ และบุคลากร
—
รศ.ดร.อุเทน คำน่าน รักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล...
เรนวูด ปาร์ค ผนึกกำลัง เออาร์วี ยกระดับความปลอดภัยวงการอสังหาฯ ด้วยอากาศยานไร้คนขับ และเทคโนโลยี AI อย่างเหนือระดับ
—
เรนวูด ปาร์ค (Reignwood Park) โครงกา...