ข่าวประชาสัมพันธ์สถาบันเศรษฐศาสตร์ | newswit

สถาบันเศรษฐศาสตร์และสันติภาพเผย ความเสี่ยงด้านความขัดแย้งเพิ่มขึ้นท่ามกลางการขาดแคลนอาหารและน้ำและแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้น – การค้นพบที่สำคัญภัยคุกคามทางระบบนิเวศ เช่น การเติบโตของประชากรอย่างรวดเร็ว ความเสี่ยงด้านแหล่งน้ำ และความไม่มั่นคงด้านอาหารจะยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ก่อให้เกิดการพลัดถิ่นครั้งใหญ่และความขัดแย้งหากความไม่มั่นคงด้านอาหารเพิ่มขึ้น 25%
ดัชนีสันติภาพโลกเผย การเสียชีวิตจากความขัดแย้งแตะระดับสูงสุดของศตวรรษนี้ ส่งผลให้ความสงบสุขของโลกลดลง – ผลลัพธ์สำคัญการเสียชีวิตจากความขัดแย้งทั่วโลกเพิ่มขึ้น 96% สู่ระดับ 238,000 รายข้อมูลใหม่แสดงให้เห็นว่าจำนวนผู้เสียชีวิตจากความขัดแย้งในเอธิโธเปียสูงกว่ายูเครน และพุ่งเกินระดับสูงสุดของโลกในระหว่างสงครามซีเรีย79 ประเทศประสบกับความขัดแย้งที่เพิ่มมากขึ้น รวมถึงเอธิโอเปีย เมียนมา ยูเครน อิสราเอล และแอฟริกาใต้ผลกระทบจากความรุนแรงที่มีต่อเศรษฐกิจทั่วโลกเพิ่มขึ้น
สถาบันเศรษฐศาสตร์มาสเตอร์การ์ดเผยเทรนด์การท่องเที่ยวทั่วโลกประจำปี
สถาบันเศรษฐศาสตร์มาสเตอร์การ์ดเผยเทรนด์การท่องเที่ยวทั่วโลกประจำปี
2566 ชี้จีนเปิดประเทศ หนุนการท่องเที่ยวโตต่อเนื่อง ดันการเดินทางเชิงธุรกิจกลับมาคึกคัก – 13 Jun
สถาบันเศรษฐศาสตร์และสันติภาพเผยประชากรกว่า 750 ล้านคนทั่วโลกได้รับผลกระทบจากการขาดสารอาหาร โดยคาดว่าสงครามรัสเซีย-ยูเครน และภาวะเงินเฟ้อจะทำให้วิกฤตินี้ย่ำแย่ลง – วีธีการจัดทำรายงานรายงาน ETR ประกอบด้วยผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ใหม่ล่าสุดและได้รับการยอมรับมากที่สุดทั้งในส่วนของการเติบโตของประชากร ความตึงเครียดเรื่องน้ำ ความไม่มั่นคงทางอาหาร ภัยแล้ง อุทกภัย พายุไซโคลน และอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ รายงานยังใช้ Positive Peace
ความสงบสุขทั่วโลกต่ำสุดในรอบ 15 ปี เนื่องจากความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจหลังโควิดและความขัดแย้งในยูเครน – ผลการค้นพบที่สำคัญยอดผู้เสียชีวิตจากความขัดแย้งภายนอกประเทศพุ่งขึ้นหลังเกิดสงครามรัสเซีย-ยูเครนสถานการณ์การขยายอิทธิพลทางทหารดีขึ้นใน 113 ประเทศ นับตั้งแต่ปี 2551 แม้จะยังมีการทำสงครามอยู่ก็ตามสถานการณ์การก่อการร้ายดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดย 70 ประเทศไม่มีรายงานการโจมตีในปี 2564 ซึ่งถือว่าดีที่สุดนับตั้งแต่ปี
ประชากรโลก 1.26 พันล้านคนมีความเสี่ยงสูงสุดที่จะเผชิญความขัดแย้งและการพลัดถิ่นเนื่องจากสิ่งแวดล้อมถูกทำลาย – วีธีการจัดทำรายงานรายงาน ETR ประกอบด้วยผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ใหม่ล่าสุดและได้รับการยอมรับมากที่สุดทั้งในส่วนของการเติบโตของประชากร ความตึงเครียดเรื่องน้ำ ความไม่มั่นคงทางอาหาร ภัยแล้ง อุทกภัย พายุไซโคลน และอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ รายงานยังใช้ Positive Peace Framework ของ IEP ในการระบุประเทศที่มีความยืดหยุ่นไม่มากพอที่จะปรับตัวหรือรับมือกับผลกระทบเหล่านี้ในอนาคต
สถาบันเศรษฐศาสตร์ของมาสเตอร์การ์ดระบุธุรกิจขนาดเล็กก้าวสู่ระบบดิจิทัล
สถาบันเศรษฐศาสตร์ของมาสเตอร์การ์ดระบุธุรกิจขนาดเล็กก้าวสู่ระบบดิจิทัล
มากกว่าช่วงก่อนระบาดถึง 3 เท่า – ข้อมูลเกี่ยวกับการฟื้นตัวด้านประกอบการของธุรกิจขนาดเล็ก Small Business Oct 2021
สถาบันเศรษฐศาสตร์และสันติภาพ (IEP) เผยโลกสงบสุขน้อยลงเนื่องจากโควิด-19 ทำให้ความไร้เสถียรภาพทางการเมืองและความไม่สงบทางสังคมเพิ่มมากขึ้น – ผลการค้นพบที่สำคัญ - ความไม่สงบทางสังคมทั่วโลกเพิ่มขึ้นราว 10% โดยเบลารุสย่ำแย่ที่สุด ขณะที่ทั่วโลกมีการชุมนุม การประท้วง และการจลาจลรุนแรง 14,871 ครั้ง ในปี 2563 - กว่า 60% ของคนทั่วโลกกังวลว่าจะได้รับอันตรายร้ายแรงจากอาชญากรรมรุนแรง-
QS เผยหลักสูตรปริญญาโทสาขาการจัดการห่วงโซ่อุปทาน
QS เผยหลักสูตรปริญญาโทสาขาการจัดการห่วงโซ่อุปทาน
(TriContinent) มหาวิทยาลัยถงจี้ ติดท็อป 50 ของโลก – การจัดอันดับครั้งนี้อิงจากการวิเคราะห์ที่ครอบคลุมจากตัวชี้วัดต Sep 2020
สถาบันเศรษฐศาสตร์และสันติภาพ (IEP) เผยประชากรโลกกว่าพันล้านคนอาจต้องย้ายถิ่นภายในปี 2593 อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อม ความขัดแย้ง และความไม่สงบ – ผลการค้นพบสำคัญ- 19 ประเทศที่เผชิญภัยคุกคามทางระบบนิเวศมากที่สุด คือประเทศที่ติดอันดับ 40 ประเทศที่สงบสุขน้อยที่สุดในโลก เช่น อัฟกานิสถาน ซีเรีย อิรัก ชาด อินเดีย และปากีสถาน- ประชากรโลกกว่า 1 พันล้านคนที่อาศัยอยู่ใน 31
ผลกระทบสหรัฐอเมริกาตัดจีเอสพีสินค้าไทย สถานการณ์บาทแข็งค่า และ แนวทางในการรับมือความท้าทาย 10.00 น. 27 ต.ค. 2562 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฎิรูป สถาบันเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – รูปธรรมจากการลดภาษีจำนวนมาก การลดสวัสดิการด้านสุขภาพของประชาชน หรือ ความหละหลวมในการกำกับเรื่องสิ่งแวดล้อม ลดทอนสิทธิแรงงานในการรวมตัวและเจรจาต่อรอง สิ่งที่เกิดขึ้นทั้งหมดนี้ กระทำในนาม "การส่งเสริมการลงทุน" ให้กับบรรษัทข้ามชาตินั่นเอง
สถาบันเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตแถลงข่าวและเผยแพร่บทวิเคราะห์ ( วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 )หัวข้อ “ดัชนีความเหลื่อมล้ำทางด้านชีวิตดิจิทัลของประเทศไทย” – รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย สถาบันเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต นัยสำคัญของชีวิตดิจิทัล การพัฒนาเทคโนโลยีในสังคมดิจิทัลปัจจุบันทำให้รูปแบบการดำเนินชีวิตของมนุษย์เปลี่ยนไป ผู้คนใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูล ท่องเว็บไซท์และดูหนังฟังเพลงอย่างแพร่หลายทดแทนการดูหนังในโรงภาพยนตร์และแผ่นดีวีดี
ผศ. ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประเมินทิศทางเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยช่วงครึ่งปีหลังในปี พ.ศ. 2562 – ที่ไม่ตรงกลุ่มเป้าหมายและด้อยประสิทธิภาพ จากการใช้จ่ายงบประมาณอย่างสิ้นเปลือง ขาดการตรวจสอบ ไม่เป็นไปตามกระบวนงานงบประมาณปรกติ (ใช้มาตรา 44) และไม่ใช่หน้าที่ความรับผิดชอบของรัฐ (ชดเชยความเสียหายให้กับการลงทุนและการทำโครงการของภาคเอกชนเกินความเหมาะสม)
ความสุขจากการให้ ผศ. ดร. เสาวลักษม์ กิตติประภัสร์ สถาบันเศรษฐศาสตร์ วิทยาลัยรัฐเศรษฐศาสตร์และโลกปริทรรศน์ ม. รังสิต – ในการศึกษาหนึ่งที่ผู้เขียนได้ลองทดสอบความสัมพันธ์ของความสุขของบุคคลและปัจจัยต่างๆในองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง ทั้งในทางทฤษฎีของตะวันตกและแนวคิดทางพุทธศาสนา โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างในกรุงเทพและปริมณทล เกือบ 500 ตัวอย่าง พบว่า ตัวแปรที่เกี่ยวกับการให้และการเสียสละ (โดยดูจากความถี่ในการช่วยเหลือผู้อื่น