ข่าวประชาสัมพันธ์โรคเกาต์ | newswit

กินอย่างไร? เมื่อเป็นโรคเกาต์
กินอย่างไร? เมื่อเป็นโรคเกาต์
– โดยเฉพาะภายในข้อ, รอบ ๆ ข้อและไตการรับประทานอาหารที่มีกรดยูริกสูงเป็นปัจจัยที่กระตุ้นให้โรคเกาต์กำเริบหรือเกิดข้ Aug 2022
มีอาการปวดตามข้อ ไม่ควรรอช้า อาจเสี่ยงโรคร้าย
มีอาการปวดตามข้อ ไม่ควรรอช้า อาจเสี่ยงโรคร้าย
– โรคเกาต์ มักเกิดอาการบวมแดงร้อนบริเวณข้อแบบเฉียบพลัน แม้ว่าไม่ได้รับกระแทกรุนแรงใด ๆ มีอาการปวดที่ข้อเดียว Jun 2022
เลี่ยงข้ออักเสบ & เกาต์ด้วยเมนูอร่อยทำง่าย
เลี่ยงข้ออักเสบ & เกาต์ด้วยเมนูอร่อยทำง่าย
– นักกำหนดอาหาร และคลินิกโรคข้อและรูมาติสซั่ม โรงพยาบาลกรุงเทพ กล่าวเกี่ยวกับโรคเกาต์ว่า เป็น Aug 2019
เกาต์ VS รูมาตอยด์ วายร้ายโรคข้อ
เกาต์ VS รูมาตอยด์ วายร้ายโรคข้อ
ที่ต้องรับมือให้เป็น – นพ.สุรราชย์ ธำรงลักษณ์ แพทย์อายุรศาสตร์โรคข้อและรูมาติสซั่ม โรงพยาบาลกรุงเทพ กล่าวถึง May 2019
ดูแลตัวเองอย่างไร? เมื่อเป็นข้อเข่าเสื่อม
ดูแลตัวเองอย่างไร? เมื่อเป็นข้อเข่าเสื่อม
– โรคข้อเข่าเสื่อมจะเริ่มจากมีอาการปวดบริเวณข้อเข่า ลุกนั่งลำบาก ข้อขัด ฝืด ตึง มีเสียงดังกรอบแกรบเวลาขยับเข่า Jun 2018
ถึงเวลาบอกลาโรคเกาต์ – รับมือไม่ยาก
ถึงเวลาบอกลาโรคเกาต์ – รับมือไม่ยาก
ถ้าหากทำความเข้าใจ อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี้เลยครับ https://goo.gl/jtFyYw May 2018
สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย
สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย
เชิญร่วมงานเสวนา Be Happy Gout “เรื่องเกาต์...เราต้องรู้” – โดยในงาน ท่านจะพบกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคเกาต์ Jan 2018
สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทยชี้
สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทยชี้
โรค เกาต์เป็น ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม เตรียม จัดงาน “Be Happy Gout เรื่องเกาต์...เราต้องรู้” – Dec 2017
วว. พัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเบต้ากลูแคนจากเห็ด...ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเกาต์
วว. พัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเบต้ากลูแคนจากเห็ด...ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเกาต์
– ปัญหาหลักในการรักษา คือ ผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม มีอาการข้ออักเสบเฉียบพลัน (Acute gouty attack) Jun 2017
รพ.ธนบุรีจัดโปรแกรมต้อนรับปีระกา
รพ.ธนบุรีจัดโปรแกรมต้อนรับปีระกา
– สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ข้อมูลสุขภาพโทร 1645 หรือ www.thonburihospital.com และ Dec 2016
อาหารโรคเกาต์ – ระดับกรดยูริคในเลือดควรเป็นเท่าไหร่?
อาหารโรคเกาต์ – ระดับกรดยูริคในเลือดควรเป็นเท่าไหร่?
ผู้ชาย ควรมีกรดยูริคในเลือดน้อยกว่า 7 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ผู้หญิง ควรมีกรดยูริคในเลือดน้อยกว่า 6 มิลลิกรัม/เดซิลิตร May 2014
สาระ...น่ารู้ จากกองทัพเรือ – กรุงเทพฯ--25 พ.ย.--สำนักงานเลขานุการกองทัพเรือ สาระ...น่ารู้ โรคเกาต์ โรคเกาต์ (Gout) หมายถึง ภาวะที่มีผลึกของกรดยูริคภายในข้อ ทำให้เกิดการอักเสบ มีอาการปวด บวม แดง ร้อน ข้อที่ปวดพบมากที่ข้อนิ้วหัวแม่เท้า ข้อเท้า ข้อมือ ข้อนิ้ว และข้อศอก ตามลำดับ โรคเกาต์พบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ๙ เท่า และมักเป็นในวัย ๓๐ ปีขึ้นไป ผู้หญิงมักเป็นหลังจากหมดประจำเดือน โรคเกาต์ หากเกิดกับผู้ใดแล้วจะเกิดความทุกข์ทรมาน
กองทัพเรือ ให้คำแนะนำถึง โรคเกาต์ – กรุงเทพฯ--20 พ.ค.--สำนักงานเลขานุการกองทัพเรือ โรคเกาต์ (GOUT) หมายถึง ภาวะที่มีผลึกของกรดยูริคภายในข้อ ทำให้เกิดการอักเสบ มีอาการปวด บวม แดง ร้อน ข้อที่ปวดพบมากที่ข้อนิ้ว หัวแม่เท้า ข้อเท้า ข้อเข่า ข้อมือ และข้อศอก ตามลำดับ ผู้ที่เป็นโรคเกาต์อาจจะมีกรดยูริคในเลือดสูงหรือปกติก็ได้ และผู้ที่มีกรดยูริคในเลือดสูง ก็ไม่จำเป็นต้องเป็นโรคเกาต์เสมอไป โรคเกาต์เป็นในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ๙ เท่า