กรุงเทพ--12 พ.ย.--มีเดียเน็ท อินเตอร์เนชั่นแนล-เอเชียเน็ท
ศาสตราจารย์ปีเตอร์ เชลเดรค ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการชั้นนำของออสเตรเลียจะเสนอแนวทางในประเด็นการอยู่รอดและเติบโตของธุรกิจไทยในอนาคตสำหรับบรรดาศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยอาร์เอ็มไอที
ท่ามกลางสภาวะของความไร้เสถียรภาพในภูมิภาคนี้นั้น ศาสตราจารย์เชลเดรคจะเสนอแผนการ 10 ประการสำหรับความสำเร็จในการแข่งขัน เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินธุรกิจในประเทศไทยให้สามารถผ่านช่วงเวลาวิกฤตทางการเงิน
สำหรับแผนการดังกล่าวนั้นจะระบุเกี่ยวกับแนวทางในการจัดการต่อกระแสเงินสดและต่อพนักงานในช่วงเวลาที่ยากลำบาก รวมทั้งระบุเกี่ยวกับแนวทางในการสร้างความพอใจให้กับลูกค้า และขยายอายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์และแนวทางในการเตรียมความพร้อมสำหรับการปรับเปลี่ยนและการขยายตัวในอนาคต
"กระแสเงินสด, กลุ่มลูกค้าและคุณภาพของพนักงานจะช่วยรักษาให้องค์กรดำเนินอยู่ได้" ศาสตราจารย์เชลเดรคกล่าว และเสริมว่า "ในฐานะที่เป็นองค์กรที่แข็งแกร่งนั้น ธุรกิจต่างาจะสามารถมุ่งความสนใจหลักไปที่โอกาสใหม่ๆ แม้อยู่ในช่วงเวลาที่ยากลำบากก็ตาม แต่ก็จะต้องดำเนินการจัดการเชิงกลยุทธ์และมุ่งความสนใจหลักไปที่ความต้องการของลูกค้าเป็นสำคัญ"
"เรากำลังเข้าสู่ช่วงเวลาใหม่ ซึ่งต้องใช้กฎระเบียบใหม่ๆของความเป็นผู้นำ ในขณะที่ความเป็นผู้นำทางธุรกิจจะเป็นปัจจัยหลักในการขยายตัวท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและท่ามกลางช่วงเวลาที่ยากลำบาก" ศาสตราจารย์เชลเดรคกล่าวเสริม
ศาสตราจารย์ปีเตอร์ เชลเดรคเป็นอดีตหัวหน้าสถาบันด้านการจัดการของออสเตรเลีย (AIM) และขณะนี้ก็ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ RMIT University's School of Management ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนด้านธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดของออสเตรเลีย
ทั้งนี้ ก่อนที่จะมีการบรรยายดังกล่าว ศาสตราจารย์เชลเดรคจะเปิดโอกาสในการตอบคำถามสื่อมวลชน ซึ่งจะจัดขึ้นสำหรับนักข่าวด้านธุรกิจและด้านการจัดการ และผู้สนใจกรุณายืนยันการเข้าร่วมงานนี้โดยโทรศัพท์ติดต่อมร.แมทท์ โบแลนด์ Corporate Affair Director ของมหาวิทยาลัยอาร์เอ็มไอทีที่เบอร์โทร. 0418503239
สำหรับงานดังกล่าวจะจัดขึ้นในวันเสาร์ที่ 14 พ.ย. ณ เวลา 17.30 น.ที่โรงแรมแพน แปซิฟิก ถ.พระราม 4 กรุงเทพ--จบ--
--บิสนิวส์แปลและเรียบเรียง-บฤ/กก--
ธนาคารไทยเครดิต จำกัด (มหาชน) หรือ CREDIT ยึดมั่นนโยบายส่งเสริมการให้สินเชื่อกับผู้ประกอบการพ่อค้าแม่ค้าอย่างมีคุณภาพ ตอกย้ำการดำเนินธุรกิจเคียงข้างผู้ประกอบการรายย่อย อันเป็นกลุ่มที่เข้าถึงเงินทุนในระบบได้ค่อนข้างยาก ส่งผลให้เกิดการพึ่งพาเงินกู้นอกระบบ ทำให้ขาดสภาพคล่อง ไม่สามารถพลิกฟื้นการทำธุรกิจ และต่อยอดกิจการได้ ปัจจุบันธนาคารให้บริการสินเชื่อสำหรับผู้ประกอบการรายย่อยมาแล้วกว่า 9 ปี โดยมีการให้สินเชื่อแก่พ่อค้าแม่ค้าในปัจจุบันมากกว่า 253,000 ราย คิดเป็นวงเงินสินเชื่อรวมมากกว่า 21,000
ADD จ่อบุ๊ครายได้ GLORY LIMITED และ OCEAN ไตรมาส 2/68 นี้ ส่งสัญญาณการฟื้นตัว หนุนปี 68 เทิร์นอะราวด์
—
บมจ.แอดเทค ฮับ หรือ ADD ส่งซิกครึ่งปีแรกส่งผลการดำ...
ลัคกี้เฟลม ครบรอบ 50 ปี เดินหน้าสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน พร้อมพัฒนาผลิตภัณฑ์อัจฉริยะสู่โลกอนาคต
—
นางอมรรัตน์ ลีลาศวัฒนกุล กรรมการผู้จัดการ (คนกลาง) นายเช...
KEX ย้ำชัด! ไม่ปิดกิจการ ยืนยันเดินหน้าธุรกิจตามปกติ หลังได้รับข้อเสนอเพิกถอนหลักทรัพย์จากตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อปรับกลยุทธ์ระยะยาว
—
KEX ประกาศย้ำชัดว่า บร...
EXIM BANK จับมือ RSPO ยกระดับอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันไทยสู่ความยั่งยืนและแข่งขันได้ในตลาดการค้าโลกที่เข้มงวดด้านสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนมากยิ่งขึ้น
—
นายบัณฑิต ส...
ผู้ถือหุ้น IP ไฟเขียวทุกวาระ แย้มรายได้ปี 68 ทะลุ 2.3 พันลบ.
—
บริษัท อินเตอร์ ฟาร์มา จำกัด (มหาชน) หรือ IP ผู้ดำเนินธุรกิจด้านการพัฒนา คิดค้น และจำหน่ายผ...
กลุ่มบริษัทยูนิไทย ร่วมฟื้นฟูระบบนิเวศป่าชายเลน เนื่องในวันคุ้มครองโลก เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
—
กลุ่มบริษัทยูนิไทย ร่วมฟื้นฟูระบบน...
ซีพี แอ็กซ์ตร้า ยกขบวนผลไม้สดจากสวน เสิร์ฟความอร่อยถึง "แม็คโคร-โลตัส" ทั่วไทย พร้อมจัดเต็ม "บุฟเฟ่ต์ทุเรียน" กินไม่อั้น
—
บริษัท ซีพี แอ็กซ์ตร้า จำกัด (ม...