ผศ.ดร.ธนวรรธน์ พลวิชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และประธานที่ปรึกษาศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ พร้อมด้วย นายวชิร คูณทวีเทพ Excutive Assistant และ ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย แถลงข่าวผลสำรวงานวิจัยโดยมีเกณฑ์การให้คะแนน 5 ด้านได้แก่ ด้านยอดขาย ด้านต้นทุน ส่วนต่างของยอดขายต่อต้นทุน (กำไรสุทธฺ) ผลกระทบจากปัจจัยเสี่ยง และภาวะการแข่งขัน และความต้งอากร/สอดคล้องกับกระแสนิยม ข้อ ละ 20 คะแนน รวมเป็น 100 คะแนน เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุมสภามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ดังต่อไปนี้ 10 อันดับธุรกิจดาวรุ่งและธุรกิจดาวร่วง ปี 64 อันดับ 1ในปีหน้าได้แก่ สองธุรกิจ คือ ธุรกิจบริการทางการแพทย์ความงาม กับธุรกิจอีคอมเมิร์ซ (ที่ซื้อขายผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์)อันดับ 2 อยู่ที่ธุรกิจแพลตฟอร์มตัวกลางหรือตลาดกลาง ธุรกิจจัดทำคอนเทนต์ ยูทูปเบอร์ การรีวิวสินค้าอันดับ 3 ธุรกิจประกันภัย ประกันชีวิต ธุรกิจเครื่องมือแพทย์อันดับ 4 ธุรกิจเวชภัณฑ์ยา การขายส่งสินค้าทางเภสัชภัณฑ์และทางการแพทย์อันดับ 5 ธุรกิจเกี่ยวกับเทคโนโลยีวิเคราะห์และจัดการข้อมูล บิ๊กเดต้าอันดับ 6 ธุรกิจอาหาร-เครื่องดื่มอันดับ 7 ธุรกิจสตรีทฟู้ด-ฟู้ดทรัคอันดับ 8 ธุรกิจขนส่งโลกจิสติกส์โลจิสติกส์ ธุรกิจด้านฟินเทค และธุรกิจพลังงานอันดับ 9 ธุรกิจตู้หยอดเหรียญฯอันดับ 10 ธุรกิจที่ปรึกษากฎหมาย ธุรกิจออกแบบผลิตบรรจุภัณฑ์
10 อันดับธุรกิจดาวร่วง ปี 2564 ได้แก่ อันดับ 1.ธุรกิจเช่าหนังสือ อันดับ 2. ธุรกิจผลิตโทรศัพท์พื้นฐานและเครื่องโทรสาร และธุรกิจจำหน่ายอุปกรณ์ความจำ อาทิ แผ่น ซีดี เมมโมรี่การ์ด อันดับ 3. ธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์และวารสาร อันดับ 4.ธุรกิจร้านให้บริการอินเตอร์เน็ต และธุรกิจคนกลาง อันดับ 5.ธุรกิจดังเดิมไม่มีดีไซน์ และใช้แรงงานเยอะ (เฟอร์นิเจอร์ ของเล่น)อันดับ 6.ธุรกิจผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่ใช้แรงงานมากและขายในประเทศ และธุรกิจหัตกรรม อันดับ 7.ธุรกิจซ่อมรองเท้า อันดับ 8.ธุรกิจการค้าแบบดั้งเดิม และธุรกิจเครื่องปั้นดินเผา และเซรามิก อันดับ 9.ธุรกิจผลิตผักและผลไม้อบแห้ง อันดับ 10.ธุรกิจร้านถ่ายรูป โดยปัจจัยคือการที่ธุรกิจเหล่านี้ไม่สามารถพัฒนาได้ตามยุคสมัย และถูกรบกวนจากการพัฒนาของเทคโนโลยี
ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เผยผลสำรวจพฤติกรรมผู้บริโภค ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2568เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2568 รศ.ดร.เสาวณีย์ ไทยรุ่งโรจน์ ที่ปรึกษาประจำสภามหาวิทยาลัยหอการค้าไทยและประธานสถาบัน Harbour.Space@utcc พร้อมด้วย อาจารย์อุมากมล สุนทรสุรัติ ผู้ช่วยผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ แถลงข่าว ผลสำรวจพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้บริโภคในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2568 จากผลสำรวจกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,300 ตัวอย่าง ทั่วประเทศ พบว่า สงกรานต์ปีนี้บรรยากาศมีความคึกคัก
ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้า แถลงผลสำรวจการใช้จ่ายช่วงตรุษจีน 2568
—
รองศาสตราจารย์ ดร.ธนวรรธน์ พลวิชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยหอการค้าไ...
คนไทยยังตั้งเป้าซื้อบ้านใน 1 ปีข้างหน้า แม้สภาพเศรษฐกิจยังท้าทาย ตั้งความหวังมาตรการฯ รัฐแรงพอจุดไฟให้ตลาดอสังหาฯ กลับมาคึกคัก
—
แม้ภาครัฐจะขยายมาตรการกระ...
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย แถลงข่าวผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคและดัชนีความเชื่อมั่นหอการค้าไทย ประจำเดือนธันวาคม 2566
—
รศ.ดร.ธนวรรธน์ พลวิชัย อธิการบด...
เกาะติดเทรนด์คนหาบ้าน ผู้บริโภคมากกว่าครึ่งยังอยากซื้อบ้าน แม้โดนสกัดด้วยอุปสรรคทางการเงิน
—
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยในปีนี้ยังกระเตื้องขึ้นตามความคาดหวัง...
ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการค้าไทย แถลงข่าวผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค และดัชนีความเชื่อมั่นหอการค้าไทย ประจำเดือนสิงหาคม ปี 2566
—
ศูนย์พยากรณ...
ม.หอการค้าไทย ร่วมกับ ส.ผู้สื่อข่าวเศรษฐกิจ จัดดีเบต"โค้งสุดท้าย เลือกตั้ง 66 นโยบายเศรษฐกิจ กับ 9 พรรคการเมือง"
—
สมาคมผู้สื่อข่าวเศรษฐกิจ ร่วมกับ มหาวิท...
เช็กความพร้อมคนหาบ้าน 2566 ผู้บริโภคมากกว่าครึ่งวางแผนซื้อบ้านใน 1 ปีข้างหน้า แม้สภาพคล่องทางการเงินยังท้าทาย
—
แม้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังไม่ดีดังเดิมเนื...
ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจฯ ม.หอการค้าไทย เผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือนมกราคม 2566
—
รศ.ดร.ธนวรรธน์ พลวิชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และประ...