Finema สตาร์ทอัพไทยสุดภูมิใจ ได้เป็นหนึ่งในคณะทำงานขององค์กรระดับโลกอย่าง Global COVID Certificate Network (GCCN)

ข่าวประชาสัมพันธ์ »

ตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีของไทยอีกครั้ง เมื่อบริษัท ฟินีม่า (ประเทศไทย) จำกัด ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์และแพลตฟอร์ม Decentralized Digital Identity ระบบพิสูจน์และยืนยันตัวตนอิเล็กทรอนิกส์รายแรกของประเทศ และเป็นบริษัทเดียวในไทย ที่ได้เข้าร่วมกับองค์กรระดับโลกอย่าง  Linux Foundation Public Health (LFPH) รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยเป็นหนึ่งในคณะทำงานร่วมกับบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำของโลก ในกลุ่ม Global COVID Certificate Network (GCCN) โดยใช้พิมพ์เขียวการทำงานร่วมกันของ Good Health Pass Collaborative เพื่อสร้างเครือข่ายใบรับรอง COVID มาตฐานสากล ที่มีความน่าเชื่อถือ ปลอดภัยและสามารถเชื่อมโยงข้อมูลกันได้ระหว่างประเทศ ช่วยให้การเปิดประเทศด้านการท่องเที่ยวสามารถทำได้อย่างปลอดภัยในอนาคต 

Finema สตาร์ทอัพไทยสุดภูมิใจ ได้เป็นหนึ่งในคณะทำงานขององค์กรระดับโลกอย่าง Global COVID Certificate Network (GCCN)

"จากการทำงานร่วมกับภาครัฐฯและภาคอุตสาหกรรมต่างๆที่ผ่านมา เพื่อสร้างความไว้วางใจและเชื่อมั่นให้กับแพลตฟอร์มดิจิทัล Finema (ประเทศไทย) พร้อมที่จะสนับสนุนและมีส่วนร่วมในความพยายามของ Global COVID Certificate Network (GCCN) ในการสร้างเครือข่ายความไว้วางใจและชุดเครื่องมือที่จะช่วยให้ประเทศต่างๆ สามารถกลับมาเปิดพรมแดนได้อย่างปลอดภัยอีกครั้ง  บริษัทรู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้รับเชิญจาก Linux Foundation Public Health (LFPH) ให้เข้าร่วมพัฒนาเครือข่ายใบรับรอง COVID มาตฐานโลก โดยโอกาสนี้นับเป็นการเติมเต็มวิสัยทัศน์ของเราที่ว่า ใบรับรองการฉีดวัคซีน รวมถึงข้อมูลด้านสุขภาพส่วนบุคคลอื่นๆ ควรใช้จะงานได้ง่ายและเคารพความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้งาน" ปกรณ์ ลี้สกุล Founder & CEO, Finema Co., Ltd. Finema สตาร์ทอัพไทยสุดภูมิใจ ได้เป็นหนึ่งในคณะทำงานขององค์กรระดับโลกอย่าง Global COVID Certificate Network (GCCN)

ข้อมูลอ้างอิง

https://www.lfph.io/2021/06/08/gccn/


ข่าวพัฒนาซอฟต์แวร์+อิเล็กทรอนิกส์วันนี้

อาลีบาบาเปิดตัว Qwen3 สร้างมาตรฐานใหม่ให้กับวงการ Open-Source AI ด้วยความสามารถแบบ Hybrid Reasoning

อาลีบาบา สร้างมาตรฐานใหม่ให้กับนวัตกรรมด้าน AI เปิดตัว Qwen3 ซึ่งเป็นรุ่นล่าสุดของตระกูลโมเดลภาษาขนาดใหญ่ (LLM) แบบโอเพ่นซอร์สของบริษัทฯ ซีรีส์ Qwen3 ประกอบด้วยหก dense model และสอง Mixture-of-Experts (MoE) model ซึ่งช่วยให้ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สร้างแอปพลิเคชันยุคใหม่สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แว่นตาอัจฉริยะ ยานยนต์ไร้คนขับ หุ่นยนต์ และอื่น ๆ อีกมากมายได้อย่างยืดหยุ่นโมเดล Qwen3 ทั้งหมด ปัจจุบันเปิดเป็นโอเพ่นซอร์สทั่วโลก ซึ่งรวมถึง dense models (ขนาดพารามิเตอร์ 0.6B, 1.7B, 4B, 8B, 14B, และ 32B) และ MoE

ความร่วมมือเชิงกลยุทธ์นี้เป็นการผสานรวม E... Amity Solutions จับมือ Databricks เปิดตัวนวัตกรรมแพลตฟอร์มสืบค้นข้อมูลด้วยภาษาธรรมชาติ — ความร่วมมือเชิงกลยุทธ์นี้เป็นการผสานรวม EkoAI เข้ากับ Databricks ...

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม จ... คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.ศรีปทุม ปั้นนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ สู้ศึกดิจิทัล! ผ่านโครงการ Tech Talk #4 — คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดโครงการอบรมหล...

เรียนรู้ "Prompt Engineer" อาชีพใหม่ไฟแรง... เรียนรู้ Prompt Engineering ที่ SPU พร้อมก้าวสู่ตลาดงานระดับโลก — เรียนรู้ "Prompt Engineer" อาชีพใหม่ไฟแรงในยุค AI กับ อาจารย์เบวล์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ...

คำบรรยายภาพ: Keng Teik Koay ประธานเจ้าหน้... Amity Solutions คว้ารางวัล "The Sauciest Startup" จากงาน Techsauce Awards 2024 — คำบรรยายภาพ: Keng Teik Koay ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท และ ทัชพล ...

การรวมหน่วยควบคุมอิเล็กทรอนิกส์เสมือนจริง... คอนติเนนทอล จับมือ Synopsys นำเทคโนโลยี Digital Twin สู่ยานยนต์เร่งการพัฒนาซอฟต์แวร์ — การรวมหน่วยควบคุมอิเล็กทรอนิกส์เสมือนจริงจาก Synopsys และชุดฮาร์ดแว...