สำหรับใครที่เป็นมนุษย์ออฟฟิศ คงรู้จักอาการปวดคอ บ่า ไหล่ หรือออฟฟิศซินโดรมเป็นอย่างดี แต่มีอีกหนึ่งอาการของโรคที่มักรุมเร้าคนที่ชอบนั่งท่าเดิมนาน ๆ เช่นกันนั่นคือ อาการปวดสะโพกร้าวลงขา หรือที่บางคนอาจเคยได้ยินว่าเป็นกระดูกทับเส้นสะโพก ลองมารู้จักอาการนี้ให้มากขึ้น และวิธีการดูแลตัวเองอย่างถูกวิธี ตามไปดูกันเลย
มารู้จักเส้นสะโพกไซอาติก้า (Sciatica) กันก่อน
ในร่างกายของคนเรามีเส้นประสาทอยู่มากมาย แต่เส้นประสาทที่อยู่บริเวณกระดูกสันหลังส่วนล่างช่วงเอว พาดผ่านไปสะโพกด้านหลัง ต้นขาด้านหลัง น่อง ไปจนถึงเท้านั้น เรียกว่าเส้นประสาทไซอาติก้า หรือ Sciatica Nerve เรียกได้ว่าเป็นเส้นประสาทที่ยาวที่สุดในร่างกายและมีขนาดใหญ่ หากมีอะไรมากระทบหรือเบียดกดเส้นประสาทนี้ มักทำให้เกิดการบาดเจ็บ ระคายเคือง หรืออักเสบ จนเกิดอาการปวดสะโพกร้าวลงขา หรือ Sciatica Pain
สาเหตุของการปวดสะโพกร้าวลงขา
ส่วนสาเหตุที่ทำให้เส้นประสาทนี้ได้รับการกระทบกระเทือน อาจเกิดได้จากหลายปัจจัย เช่น จากภาวะกระดูกเสื่อมตามธรรมชาติในผู้สูงอายุจนไปกดทับเส้นประสาทไซอาติก้า หรือหมอนรองกระดูกทับเส้นสะโพก หรือตามแนวที่เส้นประสาทวิ่งผ่าน จนทำให้เกิดอาการปวดหลังและร้าวลงขาไปตามแนวเส้นประสาทนี้ได้เช่นเดียวกัน
ใครเสี่ยงเป็นอาการ Sciatica Pain บ้าง
สำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นอาการปวดหลังหรือสะโพกร้าวลงขา ได้แก่
ลองสังเกต เรามีอาการ Sciatica Pain หรือไม่
สำหรับผู้ที่มีอาการปวดหลังหรือสะโพกร้าวลงขา ไม่ว่าจะจากสาเหตุกระดูกหรือหมอนรองกระดูกทับเส้นสะโพก ลองสังเกตตัวเองดูว่ามีอาการเหล่านี้หรือไม่
การดูแลรักษาเพื่อบรรเทาอาการ Sciatica Pain
เพื่อไม่ให้ตัวเองต้องเสี่ยงกับโรคที่สามารถหลีกเลี่ยงได้ อย่าลืมพยายามบริหารร่างกายและออกกำลังกายเป็นประจำ เพื่อไม่เป็นมนุษย์ออฟฟิศที่อมโรค และมีสุขภาพที่แข็งแรง เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
เป็นที่ทราบกันดีว่าไลฟ์สไตล์การทำงานของมนุษย์ออฟฟิศในปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไปจากเมื่อก่อนอย่างสิ้นเชิง สาเหตุหลักมาจากการปรับตัวเข้าสู่โลกการทำงานในยุคดิจิตอลที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และคงปฏิเสธได้ยากว่าสื่อดิจิตอลรวมถึงโซเชียลมีเดียต่างๆนั้นกลายมาเป็นส่วนหนึ่งในการทำงานและการใช้ชีวิตประจำวันของคนยุคนี้ไปเรียบร้อยแล้ว ยุคดิจิตอลทำให้การติดต่อสื่อสารและการเข้าถึงข้อมูลต่างๆมีความง่ายและสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น โดยคนสมัยนี้สามารถใช้ประโยชน์จากความสะดวกสบายดังกล่าวในการทำงาน เช่น ส่งอี
ออฟฟิศซินโดรม โรคใกล้ตัวคนทำงาน โดย แพทย์หญิงสุคนธมาศ เสรีสิทธิธรรม แพทย์ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู รพ.พระรามเก้า
—
หากคุณเป็นมนุษย์ออฟฟิศที่ต้องนั่งทำงานในออฟฟิ...
โรงพยาบาลหัวเฉียว ร่วมให้บริการทางการแพทย์ ในงาน SX 2024
—
โรงพยาบาลหัวเฉียว ร่วมให้บริการทางการแพทย์ ในงาน SX Sustainability Expo 2024 งานมหกรรมด้านความย...
แจกเทคนิคนวด 5 จุด คลายปวดเมื่อยที่ทำเองได้ ช่วยผ่อนคลายออฟฟิศซินโดรม ด้วยสมุนไพรไทย
—
ออฟฟิศซินโดรม แค่ได้ยินชื่อก็สัมผัสได้ถึงความปวดเมื่อยที่สุดแสนจะทร...
ขยับนิด-ยืดหน่อย แก้ "ออฟฟิศซินโดรม" ชวนคลายปวดเอง ด้วยท่าออกกำลังกายง่ายๆ เพื่อร่างกายที่ดีขึ้น
—
เวลานั่งทำงานท่าเดิมหรือจ้องหน้าจอนาน ๆ เชื่อว่าหลาย ๆ ...
อาจารย์กายภาพบำบัด ม.หัวเฉียวฯ คว้ารางวัลจากการประกวดนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2567
—
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กภ.ศิรินันท์ จันทร์หนักอาจารย์ประจำ คณะกายภ...
ม.ล.ปุณยนุช เกษมสันต์ ดุลยจินดา เป็นประธานเปิดร้านรัชตกายาคลินิก สาขาชิดลม
—
ได้ฤกษ์เปิดร้าน : อรศรี ฮอนโนลต์ จับมือ สุภาพร เอ็ลเดรจ ร่วมด้วย สิรภพ ศิริวั...
รักษา "อาการปวด" ด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า PMS ดีอย่างไร?
—
รักษา "อาการปวด" ด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า PMS ดีอย่างไร? อาการปวดคอ บ่า ไหล่ ปวดศีรษะ ปวดไมเกรน อาก...