มะเร็งเต้านมเป็นโรคร้ายแรงที่เกิดขึ้นทั่วโลก ทำให้มียอดผู้เสียชีวิตมากกว่า 658,000 คนต่อปี ตามข้อมูลสถิติปี 2563 ขององค์การอนามัยโลก รายงานที่ตีพิมพ์โดย Economist Impact เกี่ยวกับมะเร็งในผู้หญิง (โดยเฉพาะมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก) ในเอเชียแปซิฟิก ครอบคลุมประเทศไทย เวียดนาม อินโดนิเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และอินเดีย บ่งชี้ถึงแนวโน้มของโรคที่เพิ่มขึ้น และกล่าวถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรอง ซึ่งเป็นหนึ่งในวิธีที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในการตรวจพบเจอความผิดปกติ
เดือนแห่งการรณรงค์ต่อต้านโรคมะเร็งเต้านมเป็นเครื่องเตือนใจให้พวกเราทุกคนตระหนักว่า การตรวจคัดกรองเป็นการเพิ่มโอกาสให้ทั้งผู้หญิง และผู้ชาย สามารถรักษาได้หากตรวจพบตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ดังนั้นการตรวจคัดกรอง จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับผู้ป่วย
นายแพทย์แพทริค ดินีน ศิษย์เก่าคณะแพทย์ศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ ได้อุทิศตัวเพื่อทำให้การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเข้าถึงได้ง่ายขึ้นสำหรับผู้หญิง ในฐานะที่เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้ และเป็นผู้สนับสนุนในการเผยแพร่ความตระหนักรู้เกี่ยวกับการป้องกันและการตรวจหามะเร็ง นายแพทย์แพทริค มีเคล็ดลับสามประการที่เขาหวังว่าแพทย์ทั้งในปัจจุบันและในอนาคตจะแบ่งปันให้กับผู้ป่วย และคนที่พวกเขารักดังนี้
จากประสบการณ์ในการตรวจคัดกรองผู้ป่วย นายแพทย์แพทริคได้ให้มุมมองว่า "แม้ว่าจะเป็นช่วงเวลาที่น่าเศร้าสำหรับเรา ในการตรวจคัดกรองแล้วพบว่าผู้ป่วยเป็นมะเร็ง แต่เราก็รู้ดีว่า หากเราไม่ทำสิ่งนี้ โอกาสที่ผู้ป่วยจะได้รับการคัดกรองก็ไม่เกิดขึ้นด้วยเหตุผลนานับประการ การตรวจคัดกรองนี้ ช่วยให้เราสามารถค้นพบมะเร็งได้ก่อนที่จะมีอาการทางกายภาพแสดงออกมา ไม่มีวันไหนที่น่ายินดีเท่ากับวันที่ได้ยินเรื่องราวการดำรงชีวิตของคนไข้ที่เราได้ช่วยชีวิตไว้"
องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนดให้ทุกวันที่ 24-30 เมษายนของทุกปีถือเป็น "สัปดาห์การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโลก" ซึ่งเป็นแคมเปญด้านสาธารณสุขระดับโลกเพื่อสร้างความตระหนักรู้และส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันโรค โดยในปีนี้ได้กำหนดธีม "Immunization for All is Humanly Possible" เพื่อย้ำถึงความสำคัญของการสร้างภูมิคุ้มกันทั่วโลกสำหรับทุกคนว่าเป็นสิ่งที่มนุษย์สามารถทำได้ ด้วยความมุ่งหวังให้ผู้คนทุกช่วงวัย ตั้งแต่เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ได้รับการปกป้องจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนมากยิ่งขึ้น
แอสตร้าเซนเนก้า เผยความสำเร็จในการใช้ AI คัดกรองมะเร็งปอดจากภาพเอกซเรย์ เสริมความมั่นคงด้านสุขภาพที่ยั่งยืน
—
จากสถิติองค์การอนามัยโลกพบว่ามะเร็งปอดเป็นสา...
ผู้แทนองค์การอนามัยโลกปลาบปลื้มพระมหากรุณาธิคุณ สืบสานโครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารก เร่งป้องกันปัญหาการคลอดก่อนกำหนด
—
ผู้แทนองค์การอนามัยโลกปลาบปลื้...
การต่อสู้กับวัณโรค: ทำไมการป้องกันจึงเป็นสิ่งสำคัญ
—
องค์การอนามัยโลก (WHO) รายงานว่า วัณโรค (TB) อาจกลายเป็นสาเหตุการเสียชีวิตหลักจากการติดเชื้อทั่วโลก...
สธ. จับมือภาคีหนุนส่งนมแม่ฟรี ดันเป้าเด็กแรกเกิดกินนมแม่ 6 เดือนแรก มากกว่าร้อยละ 50
—
นายเดชอิศม์ ขาวทอง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวในโอกาสเ...
นมแม่มีประโยชน์ กรมอนามัย แนะ ทารก ตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
—
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เผย นมแม่มีสารอาหารที่มีประโยชน์ แนะ ทารกกินน...
"Check PD" แอปพลิเคชันตรวจหาความเสี่ยงเป็นพาร์กินสัน รู้เร็ว รักษาไว เพื่อให้คนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดี
—
หากเอ่ยถึง "โรคพาร์กินสัน" ภาพการรับรู้ของหลายคนจะม...
กทม. เตรียมพร้อมติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์อหิวาตกโรค-แนะยึดหลัก "กินร้อน ช้อนกลาง หมั่นล้างมือ"
—
นางเลิศลักษณ์ ลีลาเรืองแสง ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ (สนพ.)...
งานประกาศผลการประกวดคลิปสั้น The PAUSE Project : eyes up phone down เดินเท้าปลอดภัย
—
สำนักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับองค์การอนามัยโล...
องค์การอนามัยโลกจับมือประเทศไทย และ 194 ประเทศ เร่งสร้างฉันทมติดันความเสมอภาคสุขภาพช่องปากเป็นวาระโลก
—
ประเทศไทย โดย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จัดประชุม...