โดยทั่วไปเรามองอาการไอ ว่าเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นต่าง ๆ ที่เข้ามารบกวนบริเวณลำคอ หรือทางเดินหายใจ ซึ่งแบ่งได้ 2 ประเภท
โดยส่วนมากอาการไอมักเป็นอาการอักเสบของระบบทางเดินหายใจส่วนบน เช่น หลอดลมอักเสบ เกิดจากการติดเชื้อ เช่น ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โรคอื่น ๆ ที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดอาการไอ ได้แก่ การอักเสบเรื้อรังในปอด เช่น วัณโรค หลอดลมอักเสบเป็นหนองเรื้อรัง ฝีในปอด และมะเร็งในปอด เป็นต้น รวมถึงภาวะลองโควิดที่พบได้มากขึ้นในปัจจุบัน
ในศาสตร์การแพทย์แผนจีน อาการไอ (?? เขอ โซ่ว) ถูกแยกออกมาจากโรคไข้หวัดต่าง ๆ อาจเป็นอาการต่อเนื่องหลังจากเป็นไข้หวัดหรือปัจจัยอื่น ๆ อาจมีไข้หรือไม่มีไข้ร่วมก็ได้ ในมุมมองของการแพทย์แผนจีนมีสาเหตุเกิดจาก ปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายใน ทำให้กลไกการทำหน้าที่ของปอดไม่สามารถควบคุมชี่ขึ้นลงเข้าออก ทำให้ชี่ปอดย้อนกลับ กลุ่มอาการที่พบได้บ่อย มีดังนี้ คือ
จากกลุ่มอาการข้างต้นจะเห็นได้ว่าอาการไอ อาจไม่ได้มาจากปอดอย่างเดียว อาจมีสาเหตุมาจากอวัยวะอื่นได้เช่นกัน ในคัมภีร์ซู่เวิ่น ยังมีกล่าวว่า "อวัยวะตันทั้งห้าและอวัยวะกลวงทั้งหกล้วนแล้วแต่ทำให้ไอได้เช่นกัน ไม่จำเป็นต้องเกิดจากปอดเพียงอย่างเดียว" ซึ่งหมายความถึงหากอวัยวะอื่น ๆ ทำงานผิดปกติไปอาจส่งผลกระทบต่อปอดแล้วทำให้เกิดอาการไอได้ นอกจากนี้หากอาการไอเรื้องรังไม่หายจะส่งผลต่ออวัยวะกลวงที่เป็นคู่เปี่ยวหลี่อินหยางกันด้วย
จะเห็นได้ว่าอาการไอ มีหลากหลายสาเหตุ หากเราดูแลด้วยตัวเองแล้ว ยังมีอาการอยู่ไม่ควรปล่อยทิ้งไวให้เรื้อรังเพราะอาจจะยิ่งทำให้อาการเป็นมากขึ้นไป ทางที่ดีควรปรึกษาแพทย์ตั้งแต่เริ่มมีอาการ ยิ่งรู้สาเหตุเร็วรักษาเร็วก็ไม่เรื้อรัง
แพทย์จีนขอแนะนำการกดจุดกระตุ้นน้ำนม 2 จุด คือเส้าเจ๋อ (SI1) และ จู๋ซานหลี่ (ST36) โดยกดจุดละ 3-5 นาที วันละ 3 ครั้ง จุดเหล่านี้ช่วยบำรุงม้ามและกระเพาะอาหาร กระตุ้นการไหลเวียนของชี่และเลือดลดอาการปวดบวมและป้องกันการหยุดหลั่งน้ำนม การนวดกระตุ้นน้ำนม ควรทำตั้งแต่ก่อนคลอดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ควรทำซ้ำได้ทุกวันระหว่างให้นม เมื่อถึงเวลาให้นมหรือรู้สึกคัดเต้าควรให้นมทันที มิฉะนั้นอาจเกิดก้อนแข็ง ปวดบวมและน้ำนมไหลผิดปกติได้ แต่เมื่อใดที่ลูกน้อยเริ่มดูดนมแค่ข้างเดียวอาจเป็นสัญญาณว่าน้ำนมคุณ
ขี้หงุดหงิด ท้องผูก สิว นอนไม่หลับ ปวดหัว อาการเหล่านี้มีความสัมพันธ์กันได้อย่างไร ?
—
ขี้หงุดหงิด ท้องผูก สิว นอนไม่หลับ ปวดหัว อาการเหล่านี้มีความสัมพัน...
3 สาเหตุภาวะเลือดออกผิดปกติในช่วงตกไข่
—
จากมุมมองการแพทย์แผนจีน ภาวะเลือดออกผิดปกติในช่วงตกไข่ มักเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอินและหยางในช่วงที่ไข่ตก...
คลินิกการแพทย์แผนจีนหัวเฉียวให้การต้อนรับ คณาจารย์และนักศึกษาจากสถานวิทยาลัยนครราชสีมา
—
คลินิกการแพทย์แผนจีนหัวเฉียวให้การต้อนรับ คณาจารย์และนักศึกษาจากส...
ยาสมุนไพรจีนกับบทบาทในการรักษาอาการปวดและคลายกล้ามเนื้อ
—
ในปัจจุบัน ยาสมุนไพรจีน ถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการรักษาอาการปวดและช่วยคลายกล้ามเนื้อ ซึ่งกำลัง...
เคยไหม… มีเสมหะ น้ำมูก เสลดเหนียวในคอแม้ไม่ได้เป็นหวัด? วันนี้แพทย์จีนหัวเฉียวมีคำตอบมาฝากทุกท่าน
—
เสมหะ เป็นสารคัดหลั่งชนิดหนึ่งที่ร่างกายขับออกมาเมื่อเ...
สานสัมพันธ์ไทย-ซัวเถา ร่วมพัฒนาการแพทย์แผนจีน คลินิกการแพทย์แผนจีนหัวเฉียวลงนามข้อตกลงความร่วมมือกับโรงพยาบาลการแพทย์แผนจีนซัวเถา
—
เมื่อวันที่ 19 มีนาคม ...
โครงการอบรมและพัฒนาศักยภาพทางการแพทย์ ประจำปี 2568 ให้คำปรึกษาทางการแพทย์แผนกทุยหนาและกระดูก
—
คลินิกการประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทย์แผนจีนหัวเฉียว จัดโครงก...
คุณอรัญ เอี่ยมสุรีย์ ผู้อำนวยการคลินิกการแพทย์แผนจีนหัวเฉียว และคณะเยี่ยมชมมหาวิทยาลัยการแพทย์แผนจีนกว่างโจว
—
เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2568 คลินิกการแพทย์แผ...