ชป. เดินหน้ารับมือฤดูฝน 68 อย่างเข้มข้น

ข่าวประชาสัมพันธ์ »

กรมชลประทาน เปิดเผยถึงสถานการณ์น้ำว่า ปัจจุบัน (14 พ.ค.68) อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลางทั่วประเทศ มีปริมาณน้ำรวมกันประมาณ 42,615 ล้าน ลบ.ม. (56% ของความจุอ่างฯ รวมกัน) สามารถรองรับน้ำได้อีก 33,722 ล้าน ลบ.ม. เฉพาะในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา 4 เขื่อนหลัก (เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์) มีปริมาณน้ำรวมกันประมาณ 12,998 ล้าน ลบ.ม. (52% ของความจุอ่างฯ รวมกัน) สามารถรองรับน้ำได้อีกกว่า 11,873 ล้าน ลบ.ม. ภาพรวมสถานการณ์น้ำเป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้

ชป. เดินหน้ารับมือฤดูฝน 68 อย่างเข้มข้น

ในส่วนของการรับมือกับฤดูฝน ปี 2568 นี้ กรมชลประทาน ได้เตรียมความพร้อมรับมือสถานการณ์น้ำในช่วงฤดูฝนตามมาตรการรับมือฤดูฝน ปี 2568 ของคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ(กนช.) ด้วยการ กำหนดพื้นที่ วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงอุทภัยซ้ำซาก พร้อมบริหารจัดการน้ำให้อยู่เกณฑ์ที่กำหนดควบคู่กับการกักเก็บน้ำไว้ใช้ในฤดูแล้งหน้า รวมทั้งกำหนดคนและทรัพยากร ติดตามวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์น้ำ มีการประสานข้อมูลระหว่างหน่วยงานส่วนกลางและหน่วยงานในพื้นที่ เพื่อประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนให้ประชาชนได้รับทราบสถานการณน้ำอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการตรวจสอบสภาพความมั่นคงของอาคารชลประทานให้สามารถใช้งานได้อย่างเต็มศักยภาพ มีการกำจัดวัชพืชและสิ่งกีดขวางทางน้ำอย่างสม่ำเสมอ และเตรียมพร้อมด้านเครื่องจักร เครื่องมือ และเจ้าหน้าที่ เข้าประจำพื้นที่เสี่ยง เพื่อให้สามารถเข้าช่วยเหลือพื้นที่ประสบภัยได้อย่างทันท่วงที ตามข้อสั่งการของ ของ ศ.ดร.นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์


ข่าวลุ่มน้ำเจ้าพระยา+เขื่อนภูมิพลวันนี้

เกษตรกรพร้อมเป็นแนวร่วมชี้แจงประชาชน หลังชป.นำผู้แทนกลุ่มเกษตรกรลุ่มน้ำเจ้าพระยา ดูสถานการณ์น้ำในเขื่อนภูมิพลด้วยตาตนเอง

ดร.ทองเปลว กองจันทร์ อธิบดีกรมชลประทาน เปิดเผยว่า กรมชลประทาน ได้เชิญตัวแทนเกษตรกร ประธานสภาเกษตรกรอ่างทอง ชัยนาท สิงห์บุรี กว่า 40 คน ไปติดตามสถานการณ์ปริมาณน้ำในเขื่อนภูมิพลที่ จังหวัดตาก และเขื่อนเจ้าพระยา-ชัยนาท เพื่อให้เกษตรกรเข้าใจสถานการณ์ว่าการบริหารน้ำกันอย่างไร และหลักในการจัดสรรน้ำทำอย่างไร ซึ่งกรมชลฯโปร่งใสพร้อมชี้แจงทุกประเด็น “รับทราบจากพื้นที่ว่าเมื่อเกษตรกรและตัวแทนจากสภาเกษตร รับฟังและเห็นสถานการณ์จริงต่างก็พอใจ และเข้าใจในการบริหารของกรม และได้รับที่จะนำข้อเท็จจริงที่ได้

กระทรวงเกษตรฯ โดยกรมชลประทาน เดินหน้าบริหารจัดการน้ำและผลักดันค่าความเค็ม จากระดับน้ำทะเลหนุนสูงช่วง 13 – 15 ม.ค. 63 เพื่อลดผลกระทบต่อการผลิตประปา กล้วยไม้ และพืชผลทางการเกษตร

นายอลงกรณ์ พลบุตร ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงการบริหารจัดการน้ำและสถานการณ์การผลักดันค่าความเค็ม...

มูลนิธิสยามกัมมาจล จากสถานการณ์ภัยแล้งที่... “ภัยแล้ง” แก้ได้ด้วย "ชุมชน" ลุกขึ้นมา “บริหารจัดการน้ำ” ด้วยตนเอง — มูลนิธิสยามกัมมาจล จากสถานการณ์ภัยแล้งที่รุนแรงตั้งแต่ต้นปี 2559 ข่าวคราวที่ออกมาทางส...

กระทรวงเกษตรฯ แจงปรับแผนการใช้น้ำใน 10 เขื่อน ย้ำขอให้ใช้น้ำอย่างประหยัด ให้เป็นไปตามแผนอย่างเคร่งครัด หวังผ่านวิกฤติแล้งนี้ ยืนยันมีน้ำใช้อุปโภคบริโภคเพียงพอถึง ก.ค. นี้แน่นอน

พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า สถานการณ์น้ำใน 4 เขื่อนหลักของลุ่มน้ำเจ้าพระยา (...

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รายงานความคืบหน้า 8 มาตรการ ภายใต้โครงการบูรณาการมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ปี 2558/59

นายธีรภัทร ประยูรสิทธิ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังการแถลงข่าวการบริหารจัดการน้ำเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง ณ ตึกสันติไมตรี (หลังใน) ทำเนียบรัฐบาล ว่า สถานการณ์น้ำ...

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เร่งดำเนินโครงการชลประทานในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาทุกโครงการ เพื่อบริหารจัดการน้ำให้เกิดประโยชน์ให้มากที่สุด และเก็บน้ำสำรองไว้ใช้ให้ได้นานที่สุด

นายธีรภัทร ประยูรสิทธิ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ปัจจุบันสภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลาง มีปริมาณน้ำในอ่างฯ รวม 42...

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เร่งดำเนินโครงการชลประทานในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาทุกโครงการ เพื่อบริหารจัดการน้ำให้เกิดประโยชน์ให้มากที่สุด และเก็บน้ำสำรองไว้ใช้ให้ได้นานที่สุด

นายธีรภัทร ประยูรสิทธิ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ปัจจุบันปริมาณน้ำใน 4 เขื่อนหลัก ได้แก่ เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ ...