ข่าวประชาสัมพันธ์ไทยเบิ้ง | newswit

สนพ.ลพบุรี พัฒนาผลิตภาพแรงงาน
สนพ.ลพบุรี พัฒนาผลิตภาพแรงงาน
ชุมชนวัฒนธรรมไทยเบิ้ง – May 2022
“รถไขลาน” ของเล่นจากภูมิปัญญาไทยเบิ้ง – เช่นกันกับที่หมู่บ้านไทยเบิง ต.โคกสลุง อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี “รถไขลาน” ก็เป็นของเล่นที่นิยมทำเล่นกันเองมาตั้งแต่สมัยปู่ย่าตายาย ขั้นตอนก็ไม่ยุ่งยากเหมาะกับเด็กทุกเพศทุกวัย นายวิเชียร ยอดสลุง ปราชญ์ชาวบ้านที่ทำรถไขลานจากแกนด้ายเล่นมาตั้งแต่สมัยเด็กๆ บอกว่า อุปกรณ์การทำที่หาได้ภายในบ้าน ได้แก่ เทียนไข ลวด หลอดด้ายพลาสติกเหลือใช้ คีม มีด ไม้ขนาดเล็ก
ฤดูกาลไทยเบิ้งที่โคกสลุง – กรุงเทพฯ--30 ส.ค.--สสส. แผนงานสื่อศิลปวัฒนธรรมสร้างเสริมสุขภาพ สสส. ขอเชิญสื่อมวลชนร่วมงาน ตลาดนัดศิลปวัฒนธรรมและเวทีสาธารณะชุมชน ครั้งที่ 1 ตอน “อาหารการกินถิ่นไทยเบิ้ง กินตามฤดูกาล” ในวันเสาร์ที่ 31 สิงหาคม 2556 กิจกรรมในครั้งนี้จัดขึ้นโดยการรวมตัวกันของชาวชุมชนไทยเบิ้งในตำบลโคกสลุง อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี มีนายประทีป อ่อนสลุง กลุ่มเมล็ดข้าวเปลือกไทยเบิ้ง ครูภูมิปัญญาเป็นแกนนำในการจัดงาน
สสส. ชวนเที่ยวตลาดนัดศิลปวัฒนธรรมและเวทีสาธารณะชุมชน ครั้งที่ 4 ตอน “อัตลักษณ์ของชาวไทยเบิ้ง” 16 ก.พ.นี้ ที่โคกสลุง – กรุงเทพฯ--12 ก.พ.--สสส. แผนงานสื่อศิลปวัฒนธรรมสร้างเสริมสุขภาพ เผยตลาดนัดศิลปวัฒนธรรมและเวทีสาธารณะชุมชน ครั้งที่ 4 ตอน “อัตลักษณ์ของชาวไทยเบิ้ง” หนุนการละเล่นพื้นบ้าน อาหารพื้นบ้าน ความเชื่อ ภูมิปัญญาพื้นบ้านสานสัมพันธ์ชุมชน สร้างเอกลักษณ์ให้คนไทยเบิ้ง
เปิดสำรับอาหารการกิน ถิ่น “ไทยเบิ้ง” – กรุงเทพฯ--21 ธ.ค.--สสส. เปิดสำรับอาหารการกิน ถิ่น “ไทยเบิ้ง” “ส้มหัวหมู , ส้มหัวงัว , ส้มตุ่น , ปลาร้า , ปลาจ่อม” “ผักเสี้ยนดอง , กุ่มดอง , มะม่วงดอง , หน่อไม้ส้ม” อาหารเหล่านี้ถึงแม้จะขึ้นชื่อว่าเป็น “ของเน่า” แต่สำหรับชาวไทยเบิ้งโคกสลุง “ของเน่า” เหล่านี้เป็นเสมือนสำรับอาหารมื้อพิเศษของทุกๆ บ้านไปแล้ว นายประทีป อ่อนสลุง ผู้รับผิดชอบโครงการการจัดการศึกษาบนฐานชุมชนตำบลโคกสลุง
สสส. หนุนคนไทยเบิ้งเปิดงานตลาดนัดศิลปวัฒนธรรมและเวทีสาธารณะชุมชน ครั้งที่ ๒ ดึงของเน่าในชุมชนเป็นจุดเด่นสร้างอัตลักษณ์ดึงคนสามวัยทำงานร่วมกัน – กรุงเทพฯ--11 ต.ค.--สสส. แผนงานสื่อศิลปวัฒนธรรมสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สนับสนุนโครงการการจัดการศึกษาบนฐานชุมชนตำบลโคกสลุง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดลพบุรี จัดตลาดนัดศิลปวัฒนธรรมและเวทีสาธารณะชุมชน ครั้งที่ 2 ดึงคนสามวัยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความเป็นคนไทยเบิ้ง ด้วยจุดเด่น อัตลักษณ์ รากเหง้าของดีในชุมชนที่มี