ข่าวประชาสัมพันธ์ผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน | newswit

แพทย์ศรีสะเกษลุยแผนเชิงรุกสร้างเครือข่ายคัดกรองผู้ป่วยโรคพาร์กินสันทั่วภาคอีสาน
แพทย์ศรีสะเกษลุยแผนเชิงรุกสร้างเครือข่ายคัดกรองผู้ป่วยโรคพาร์กินสันทั่วภาคอีสาน
– นพ. สิทธิพันธ์ จันทร์พงษ์ อายุรแพทย์โรคสมองและระบบประสาท โรงพยาบาลศรีสะเกษ กล่าวว่า Apr 2019
Britannia Pharmaceuticals Ltd เผยผลการศึกษา TOLEDO เฟส 3 ชี้การใช้ยา Apomorphine ชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนังช่วยลดปัญหาอาการตอบสนองต่อยาไม่สม่ำเสมอในผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน (PD) ซึ่งมีอาการที่ไม่สามารถควบคุมได้ด้วยการรับประทานยา – การรักษาด้วยยา APO-go(R) / MOVAPO(R) (apomorphine) โดยฉีดเข้าใต้ผิวหนังเป็นเวลา 12 สัปดาห์ ทำให้ลดเวลา OFF time (ระยะเวลาที่การรักษา PD ไม่ได้ผล) ลงได้อย่างมีนัยสำคัญ จากการให้ยาจริง (baseline)
Britannia Pharmaceuticals ประกาศผลวิจัยสำคัญ ยืนยัน “อะโปมอร์ฟีน” ช่วยรักษาผู้ป่วยโรคพาร์กินสันที่การรักษาตามมาตรฐานไม่ได้ผล – การใช้ยาฉีดใต้ผิวหนัง APO-go(R)/MOVAPO(R) ประสบความสำเร็จทางคลินิกมานานเกือบ 30 ปีแล้วในยุโรป ขณะที่การวิจัยแบบไม่มีกลุ่มควบคุมหลายโครงการก็ได้แสดงให้เห็นถึงสรรพคุณในการลดช่วงเวลาที่ยาหมดฤทธิ์ (off time) บรรเทาอาการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อลำบาก และลดความจำเป็นในการทานยาเลโวโดปา ทว่าจนถึงทุกวันนี้
นิสิตศศินทร์ รับถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
นิสิตศศินทร์ รับถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
รัชกาลที่ 9 ชนะเลิศแผนธุรกิจระดับโลก The mai Bangkok Business Challenge @Sasin 2017 – ทีม PDvice นิสิตศศินทร์ Mar 2017
นิสิตศศินทร์ รับถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
นิสิตศศินทร์ รับถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
รัชกาลที่ 9 ชนะเลิศแผนธุรกิจระดับโลก The mai Bangkok Business Challenge?@Sasin 2017 – นางสาวอภิษฎา พัฒนานิตย์สกุล Mar 2017
แพทย์เผย ร้อยละ8 ของผู้ป่วยโรคพาร์กินสันในไทยมีอายุน้อยกว่า
แพทย์เผย ร้อยละ8 ของผู้ป่วยโรคพาร์กินสันในไทยมีอายุน้อยกว่า
40ปี – หลายคนคงเคยได้ยินชื่อ "โรคพาร์กินสัน" ผ่านหูกันมาบ้าง Apr 2016
ภาพข่าว: ศูนย์รักษาโรคพาร์กินสัน จุฬา ชี้ร้อยละ 74.3 ของผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน ประสบปัญหาอาการผิดปกติตอนกลางคืน – กรุงเทพฯ--21 มี.ค.-- ศูนย์พาร์กินสัน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ร่วมกับ หน่วยประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และหน่วยประสาทวิทยา กลุ่มงานอายุรกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จัดงานแถลงข่าวนำเสนอผลการศึกษา NIGHT-PD study (การศึกษาปัญหาอาการพาร์กินสันตอนกลางคืน)
ผลวิจัยชี้ ร้อยละ 74.3 ของผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน ประสบปัญหาอาการผิดปกติตอนกลางคืน – กรุงเทพฯ--14 มี.ค.-- ผลการศึกษาล่าสุดซึ่งจัดทำโดย ศูนย์พาร์กินสัน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ร่วมกับ หน่วยประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และหน่วยประสาทวิทยา กลุ่มงานอายุรกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา พบผู้ป่วยโรคพาร์กินสันหรือที่คนไทยเรียกว่าโรคสั่นสันนิบาต ร้อยละ 74.3
ข่าวซุบซิบ: นพ.รุ่งโรจน์ พิทยศิริ – กรุงเทพฯ--18 ส.ค.--แม็กซิม่า คอนซัลแตนท์ ผศ.นพ.รุ่งโรจน์ พิทยศิริ แพทย์หนุ่มผู้เชี่ยวชาญโรคทางสมอง แห่งโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เชิญชวนผู้ป่วยโรคพาร์กินสันทั่วประเทศ เข้าร่วมโครงการ “ลงทะเบียนผู้ป่วยพาร์กินสันทั่วประเทศ เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ อุปนายิกาสภากาชาดไทย” โดยทุกท่านทีเข้าร่วมโครงการจะไดรับดีวีดีวิธีการดูแลรักษาโรคดังกล่าว โดยผู้สนใจสามารถลงทะเบียนที่