ข่าวประชาสัมพันธ์ปัญหายางพารา | newswit

ก.เกษตรฯ แนวทางการประกันรายได้
ก.เกษตรฯ แนวทางการประกันรายได้
– นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังหารือถึงมาตรการในการบริหารจัดการยางพารา ณ Aug 2019
รมว.เกษตรฯ แจงผลงานการแก้ไขปัญหายางพารา
รมว.เกษตรฯ แจงผลงานการแก้ไขปัญหายางพารา
สามารถทำให้ราคายางพาราปรับสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง – นอกจากนั้น กระทรวงเกษตรฯ Jun 2019
กยท. เตรียมเดินเครื่องโครงการสร้างความเข้มแข็งฯ
กยท. เตรียมเดินเครื่องโครงการสร้างความเข้มแข็งฯ
หวังเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต/ช่วยค่าครองชีพ ดันสร้างถนนยาง 1 หมู่บ้าน 1 กิโลเมตร เพื่อดูดซับยางกว่า 1 ล้านตัน – Nov 2018
“รัฐมนตรีเกษตรฯ” เร่งขับเคลื่อนแก้ไขปัญหายางพารา ผ่าน 4 โครงการสำคัญ หวังเป็นของขวัญปีใหม่ให้ชาวสวนยาง และเพิ่มการใช้ยางพาราในประเทศเพิ่มขึ้น – 1. โครงการสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกรชาวสวนยาง พ.ศ. 2561 – 2562 เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนค่าครองชีพของเกษตรกรชาวสวนยาง เป้าหมาย เกษตรกรชาวสวนยางที่มีสวนยางในพื้นที่มีเอกสารสิทธิ์ที่เปิดกรีดแล้ว และขึ้นทะเบียนกับการยางแห่งประเทศไทย ก่อนวันที่ 14 พฤศจิกายน 2561 จำนวน 999,065 ราย และคนกรีดยาง 304,266
ก.เกษตรฯ แก้ไขปัญหายางพาราในระยะเร่งด่วน – นายกฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ตามที่ได้มีการสนับสนุนให้ปลูกยางพาราในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศนับล้านไร่ มาตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา โดยไม่มีการวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดนั้น ได้ส่งผลให้ประเทศไทยเป็นทั้งผู้ผลิตยางพาราปริมาณมากที่สุดในโลก รวมทั้งเป็นผู้ส่งออกยางพารามากที่สุดในโลกด้วย
ครม. อนุมัติ 6โครงการช่วยเหลือยางพาราทั้งระบบ
ครม. อนุมัติ 6โครงการช่วยเหลือยางพาราทั้งระบบ
สร้างเสถียรภาพด้านราคา – ดร.ธีธัช สุขสะอาด ผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ที่ประชุม ครม. เห็นชอบ Dec 2017
กยท. ร่วมทุกภาคส่วน เดินหน้าแก้ไขปัญหาราคายางผันผวน
กยท. ร่วมทุกภาคส่วน เดินหน้าแก้ไขปัญหาราคายางผันผวน
เร่งมาตรการสร้างเสถียรภาพด้านราคา – ดร.ธีธัช สุขสะอาด ผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย Oct 2017
กยท. แถลงสถานการณ์ยางพารา พร้อมมาตรการขับเคลื่อนเพื่อสร้างเสถียรภาพราคายาง
กยท. แถลงสถานการณ์ยางพารา พร้อมมาตรการขับเคลื่อนเพื่อสร้างเสถียรภาพราคายาง
วอนทุกภาคส่วนเชื่อมั่น พร้อมร่วมมือแก้ไขปัญหาในแนวทางเดียวกัน – ดร. ธีธัช สุขสะอาด Jul 2017
กรมโรงงานฯ เร่งเครื่องเดินหน้าขยายโรงงานยาง
กรมโรงงานฯ เร่งเครื่องเดินหน้าขยายโรงงานยาง
ช่วยแก้วิกฤตปัญหายางพาราอย่างยั่งยืน – ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม รองโฆษกกระทรวงอุตสาหกรรม Feb 2016
เกษตรฯ รุกร่างยุทธศาสตร์-แผนยางพารา 10 ปี ด้าน สศก. เตรียมคลอดคณะทำงานฯ กลาง ก.พ. นี้ – นายสุรพงษ์ เจียสกุล เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงผลการประชุมคณะอนุกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ยางพารา ครั้งที่ 1/2559 วันที่ 28 มกราคม ที่ผ่านมา ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธาน และรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ) เป็นเลขานุการ
เกษตรฯ เดินหน้าแก้ปัญหายางพาราครบวงจร สนับสนุนประกอบอาชีพเสริม ส่งเสริมใช้ยางในประเทศ พร้อมเร่งขับเคลื่อนคกก.กนย. บูรณาการร่วมทุกภาคส่วน หวังช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยางอย่างยั่งยืน – "จากการติดตามผลการดำเนินโครงการปรากฏว่า ร้อยละ 61 ของเกษตรกรมีความสนใจประกอบอาชีพเสริมด้านปศุสัตว์/ร้อยละ 13 ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น ไม้ประดับ/ร้อยละ 10 ปลูกพืชไร่/ร้อยละ 9 ทำประมง และอื่นๆ อีกร้อยละ 7 ได้แก่การแปรรูปสินค้าเกษตร เป็นต้น ซึ่งเมื่อปลายปี
เกษตรฯ ตั้งคณะกรรมการร่วมแก้ปัญหา-พัฒนายางพารา 7 คณะ พร้อมตัวแทนชาวสวนยางเข้าร่วมเป็นคณะทำงานขับเคลื่อน กยท. ขอเวลาแก้ปัญหายางพาราที่สะสมเรื้อรังมานาน วอนทุกฝ่ายหันหน้าเข้าหากัน ช่วยแก้ปัญหายางพาราทั้งระบบให้ตรงจุด – ทั้งนี้ ได้มีการตั้งคณะทำงานย่อย 7 คณะ ร่วมสนับสนุนการปฏิบัติงานภายใต้คณะกรรมการร่วมฯ ข้างต้น แบ่งเป็น 1. คณะทำงานเพื่อการใช้ยางพาราในประเทศ เสนอแนวทางการแปรรูป การพัฒนา และการขับเคลื่อนเพื่อให้เกิดการใช้ยางพาราภายในประเทศ
สกย.เร่งเดินหน้า สร้างพันธมิตรด้านการสื่อสาร มุ่งกระจายข้อมูลโครงการแก้ปัญหายางพารา และความคืบหน้า กยท.สู่ชาวสวนยางพาราทั่วประเทศ – นายเชาว์ ทรงอาวุธ รองผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง ในฐานะโฆษก สกย. เผยว่า การดำเนินงานภายใต้โครงการแก้ไขปัญหายางพาราทั้งระบบที่ผ่านมา จนถึงปัจจุบัน หลายโครงการมีความคืบหน้าไปมาก อาทิ โครงการควบคุมปริมาณการผลิต ซึ่งขณะนี้ มีเกษตรกรชาวสวนยาง ยื่นคำขอรับการสงเคราะห์ปลูกแทน จำนวน 39,990 ราย
กระทรวงเกษตรฯ ประชุมชี้แจงแนวทางการบริหารจัดการยางพารา รอบการผลิต ปี 58/59 หวังขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหายางพาราได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นระบบครบวงจรในระดับจังหวัด – นายอำนวย ได้กล่าวถึงการบริหารจัดการสินค้ายางพารา รอบการผลิต 58/59 ว่า กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินแก้ไขปัญหายางพาราทั้งระบบ ประกอบด้วย ส่วนกลาง ได้แก่ คณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.) และคณะอนุกรรมการบริหารการดำเนินงานตามแนวทางการพัฒนายางทั้งระบบ ระดับกระทรวง ได้แก่
ก.เกษตรฯ เดินหน้ามาตรการขับเคลื่อนยางพาราสู่ระดับจังหวัด เพื่อเตรียมความพร้อมในการบริหารจัดการยางในฤดูกาลหน้า พร้อมชูแผนระดับชาติหวังแก้ไขปัญหาระยะยาว – นายอำนวย กล่าวเพิ่มเติมว่า “เบื้องต้นมีการรายงานความคืบหน้าสถานการณ์ยางพาราของแต่ละจังหวัด ภายหลังการลงพื้นที่เก็บข้อมูลรายงานตัวเลขและสถานการณ์ยางในจังหวัด จากผู้ตรวจราชการฯ ในแต่ละเขต ด้านการปิดฤดูกาลการกรีดยาง ได้มีการทำความเข้าใจกับเกษตรกร
“อำนวย” ประชุมทางไกลร่วมจังหวัด แจงการบริหารจัดการแก้ไขปัญหายางพาราในช่วงปิดกรีดยาง พร้อมหารือแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นระดับพื้นที่ เตรียมปรับแผนการผลิตและจำหน่ายยางในฤดูกาลผลิตหน้า – พร้อมกันนี้ ได้รับฟังสภาพปัญหา และข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหายางพาราในพื้นที่ของแต่ละจังหวัด เช่น ต้องการให้สนับสนุนขยายตลาดกลางให้กว้างขวางขึ้น การปรับระบบเงินหมุนเวียนที่อยู่ในสภาพตลาด
“อำนวย” ประชุมมอบนโยบายขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหายางพาราอย่างเป็นระบบครบวงจร ด้วยกลไกระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด – นายอำนวย กล่าวต่อไปว่า ในการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาสินค้ายางพาราเป็นไปอย่างมีระบบครบวงจร จะดำเนินการในลักษณะบูรณาการการบริหารจัดการสินค้ายางพาราระดับจังหวัดเป็นสำคัญ โดยมอบหมายให้ แต่ละจังหวัดจัดทำรายงานข้อมูลประมาณการสมดุลยางพาราของจังหวัด ฤดูกาลผลิตปี 2558/2559 ข้อมูลรายงานราคายางพาราในจังหวัด ข้อมูลโครงสร้างอุตสาหกรรมยางของจังหวัด
“อำนวย” ประชุมซักซ้อมความเข้าใจเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ พร้อมติดตามการดำเนินงานโครงการแก้ไขปัญหายางพารา หวังแก้ไขปัญหาอุปสรรคและเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหายางพาราอย่างเป็นระบบและครบวงจร – นายอำนวย กล่าวให้นโยบายแก่เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานให้เร่งรัดดำเนินการ 1) ให้ศึกษาวิเคราะห์และติดตามสถานการณ์ปัญหายางพาราในพื้นที่อย่างใกล้ชิด หากมีปัญหาและสามารถแก้ไขในระดับจังหวัดได้ ให้เร่งดำเนินการโดยด่วน ส่วนปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขได้
สศก. ลุยพื้นที่ ติดตามโครงการแก้ไขปัญหายางพารา แจงความคืบหน้าช่วยเกษตรกรสวนยาง – นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงการลงพื้นที่ติดตามโครงการแก้ไขปัญหายางพารา ประกอบด้วย โครงการชดเชยรายได้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง โครงการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนแก่สถาบันเกษตรกรเพื่อใช้ในการรวบรวมยางพารา 10,000 ล้านบาท โครงการสนับสนุนสินเชื่อสถาบันเกษตรกรแปรรูปยางพารา 5,000 ล้านบาท ณ
กระทรวงเกษตรฯ ประชุมเครือข่ายชาวสวนยางสรุปประเด็นปัญหาแนวทางแก้ไข พร้อมเร่งขับเคลื่อนมาตรการแก้ไขปัญหายางพาราไปสู่การปฏิบัติ หวังแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนเกษตรกรชาวสวนยางได้อย่างรวดเร็ว – นายอำนวย กล่าวภายหลังการสรุปประเด็นปัญหาและแนวทางแก้ไขว่า ในการดำเนินงานตามมาตรการต่าง ๆ นั้น จะมีการเจาะลึกและติดตามการดำเนินงานของแต่ละจังหวัดอย่างใกล้ชิด หากมีปัญหาในเรื่องขั้นตอนการดำเนินงาน หรือเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน
รมช.อำนวย แถลงเร่งขับเคลื่อนมาตรการแก้ไขปัญหายางพารา พร้อมผลักดันกลไกตลาด หวังแก้ไขปัญหายางพาราตกต่ำ – นายอำนวย กล่าวต่อไปว่า ในส่วนของโครงการชดเชยรายได้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง ไร่ละ 1,000 บาท นั้น ได้กำชับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เร่งดำเนินการจ่ายเงินให้เกษตรกรชาวสวนยางโดยเร็ว สำหรับโครงการสร้างมูลภัณฑ์กันชนเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง จะเร่งติดตามความคืบหน้าการดำเนินงาน เพื่อให้มีการซื้อยางพาราและระบายออกสู่ตลาดต่างประเทศ
รัฐมนตรีช่วยเกษตรฯ หารือสภาการยางแห่งประเทศไทย และเครือข่ายยางทั้งระบบ หวังแก้ไขปัญหาและปฏิรูปยางพาราทั้งระบบอย่างครบวงจร – นายอำนวย กล่าวต่อไปว่า การเข้าพบครั้งนี้สภาการยางแห่งประเทศไทย และเครือข่ายยางทั้งระบบ ได้ขอให้เร่งผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายต่างๆมติ ครม. และผลจากการประชุมคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2557 และ 16 ตุลาคม 2557 ได้แก่ โครงการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนแก่สภาบันเกษตรรวบรวมยาง 10,000 ล้าน
“ปีติพงศ์” หารือร่วมรัฐมนตรีมาเลเซีย วางแนวทางแก้ไขปัญหายางพารา – นายปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังการหารือร่วมกับนายดักกลัส อุกะห์ เอ็มบาส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมการเพาะปลูกและสินค้ามาเลเซีย ว่า ประเด็นการหารือร่วมกันในครั้งนี้สาระสำคัญหลักๆ คือ การสร้างความร่วมมือเพื่อแก้ไขสถานการณ์ยางพาราในปัจจุบัน ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือกับประเทศผู้ผลิตยางรายใหญ่อีกประเทศ คือ
“ปีติพงศ์” เร่งแก้ไขปัญหายางพารา เตรียมนำ 4 ประเด็นหลัก เข้าประชุม กนย. สัปดาห์หน้า หวังดันราคายางสูงขึ้น – 1. ต้องเร่งวางมาตรการทำให้ยางพาราที่ค้างอยู่ในประเทศใช้ให้หมดโดยเร็ว โดยรัฐบาลต้องส่งเสริมในการนำยางพาราไปใช้ในกิจการต่างๆของรัฐ ทั้งโครงการสร้างถนน ระบบการป้องกันน้ำท่วม หรือกิจการอื่นๆ ที่มีความจำเป็นต้องใช้ยางพารา ขณะเดียวกันในเรื่องการโค่นยางเพื่อลดอุปทานยาง ต้องวางระบบการดำเนินงานให้มีความสะดวกมากยิ่งขึ้น
กระทรวงเกษตรฯ พร้อมลุยแก้ปัญหายางพาราทั้งระบบ เป้าหมายลดความต้องการขายวัตถุดิบยางในตลาด กระตุ้นราคายางกระเตื้อง – สำหรับเป้าหมายโครงการนี้จะช่วยลดความต้องการขายวัตถุดิบยางพาราในตลาด เพื่อรอจำหน่ายเมื่อเห็นว่ามีราคาที่เหมาะสม เดือนละไม่น้อยกว่า 111,990 ตัน หรือปีละประมาณ 895,920 ตัน โดยคิดจากระยะเวลาการกรีดยางพาราปีละ 8 เดือน สามารถเพิ่มมูลค่าจากการแปรรูปยางพาราของสถาบันเกษตรกรเดือนละไม่น้อยกว่า 274 ล้านบาท หรือปีละประมาณ 2,192 ล้านบาท
สกย. ฟิตพร้อมลุยแก้ปัญหายางทั้งระบบ เร่งคืนความสุขให้ชาวสวนยาง – สำหรับโครงการควบคุมปริมาณการผลิตตามแนวทางควบคุมพื้นที่ปลูกยาง (ต.ค.57–ก.ย.64) สกย. จะสนับสนุนการโค่นยางเก่าที่ให้ผลผลิตไม่คุ้มค่า ปีละ 4 แสนไร่ โดยเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่ายางพารา ปีละ 1 แสนไร่ ระยะเวลา 7 ปี ทำให้ลดพื้นที่ปลูกยางแบบถาวรได้ 7 แสนไร่ โดยปีแรกผลผลิตยางลดลงประมาณ 1.01 แสนตัน และเมื่อครบปีที่ 7 จะลดผลผลิตยางได้ถึง 7.11 แสนตัน
เกษตรกรสวนยางเตรียมเฮ! เกษตรฯ เร่งตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ยืนยัน ความถูกต้องรายชื่อและเอกสารสิทธิ์ให้ ธ.ก.ส. ตั้งเป้าตรวจสอบแล้วเสร็จภายในสิ้นเดือนก.ค.นี้ – อย่างไรก็ตาม ภายในสัปดาห์นี้กรมส่งเสริมการเกษตรจะเสนอสำนักงบประมาณเพื่อโอนเงินจัดสรรเงินงวดที่ 2 ให้เกษตรกรที่ผ่านการตรวจสอบดังกล่าวแล้วอีกจำนวน 15,576 ครัวเรือน 21,486 แปลง
ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกยางพารา ปี ๒๕๕๗ – กรุงเทพฯ--4 ก.ย.--เกษตรจังหวัดมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม สนองนโยบายรัฐบาลเร่งเดินหน้ารับขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกยางพารา ตามโครงการแก้ไขปัญหายางพาราทั้งระบบ ปี 2557 ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม กล่าวว่า ได้เรียกประชุมเจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอ วันนี้ (๒ ก.ย.๕๖) ที่ห้องประชุมพิรุณ ๑ สำนักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม เพื่อชี้แจงการ รับขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกยางพารา