ข่าวประชาสัมพันธ์นักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน | newswit

มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง โครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐกับความสำเร็จในการบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน – ทั้งนี้ผลสำรวจเมื่อสอบถามการเปิดตัวโครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ พบว่าแกนนำชุมชนกว่า 2 ใน 3 หรือร้อยละ 75.8 ระบุทราบข่าวดังกล่าว ในขณะที่ร้อยละ 24.2 ระบุไม่ทราบ
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง มาตรา 44 กับกระบวนการทำอาร์ไอเอ (RIA) – รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) ผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง มาตรา 44 กับกระบวนการทำอาร์ไอเอ (RIA) จำนวนทั้งสิ้น 1,107 ชุมชน จาก 27 จังหวัดทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นครปฐม ชลบุรี เพชรบุรี ชัยนาท
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง คนไทยเข้าใจรัฐธรรมนูญแล้วหรือยัง – รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง คนไทยเข้าใจรัฐธรรมนูญแล้วหรือยัง :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 1,104 ชุมชน จาก 26 จังหวัดทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง คนไทยเข้าใจรัฐธรรมนูญแล้วหรือยัง – รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง คนไทยเข้าใจรัฐธรรมนูญแล้วหรือยัง :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 1,104 ชุมชน จาก 26 จังหวัดทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง รัฐกับการจัดการน้ำอย่างยั่งยืน – เมื่อสอบถามความคิดเห็นของตัวอย่างแกนนำชุมชนถึงการติดตามข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมาพบว่า ร้อยละ 55.7 ระบุติดตาม ทุกวัน/เกือบทุกวัน ร้อยละ 33.0 ระบุ ติดตามติดตาม 3-4 วันต่อสัปดาห์ ร้อยละ 8.6 ระบุติดตาม 1-2 วันต่อสัปดาห์ ร้อยละ 2.3 ติดตามเป็นบางวัน และร้อยละ 0.4 ระบุไม่ได้ติดตามเลย
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง รัฐกับนโยบายจัดการศึกษาเรียนฟรี 15 ปี – เมื่อสอบถามความคิดเห็นของตัวอย่างแกนนำชุมชนถึงการติดตามข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมาพบว่าตัวอย่างร้อยละ 51.6 ระบุติดตามทุกวัน/เกือบทุกวัน ในขณะที่ร้อยละ 34.6 ระบุติดตาม 3-4 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 11.1 ระบุติดตาม 1-2 วันต่อสัปดาห์ ร้อยละ 2.4 ติดตามเป็นบางวัน และร้อยละ 0.3 ระบุไม่ได้ติดตามเลย ทั้งนี้แกนนำชุมชนประมาณ 1 ใน 3 หรือร้อยละ 33.0
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง สถานการณ์ยาเสพติดกับมุมมองต่อปัญหาที่เป็นอยู่ – รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง สถานการณ์ยาเสพติดกับมุมมองต่อปัญหาที่เป็นอยู่ :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 1,102 ตัวอย่างจากจังหวัดทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง บริษัทประชารัฐเป็นอย่างไรในใจประชาชน – เมื่อสอบถามความคิดเห็นของตัวอย่างแกนนำชุมชนถึงการติดตามข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมาพบว่าตัวอย่างร้อยละ 53.3 ระบุติดตามทุกวัน/เกือบทุกวัน ในขณะที่ร้อยละ 33.1 ระบุติดตาม 3-4 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 9.7 ระบุติดตาม 1-2 วันต่อสัปดาห์ ร้อยละ 3.4 ติดตามเป็นบางวัน และร้อยละ 0.5 ระบุไม่ได้ติดตามเลย
มาสเตอร์โพลล์(Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง แกนนำชุมชนมองอย่างไร ถึงอนาคตประเทศไทยหลังการเลือกตั้ง :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – เมื่อสอบถามความคิดเห็นของตัวอย่างแกนนำชุมชนถึงการติดตามข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมาพบว่าตัวอย่างร้อยละ 61.0 ระบุติดตามทุกวัน/เกือบทุกวัน ในขณะที่ร้อยละ 26.0 ระบุติดตาม 3-4 วัน ร้อยละ 6.0 ระบุติดตาม 1-2 วัน ร้อยละ 6.5 ติดตามเป็นบางวัน และร้อยละ 0.5
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง สงกรานต์ไทย(ปีนี้) เปลี่ยนไปหรือเหมือนเดิม? :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – เมื่อคณะผู้วิจัยได้สอบถามตัวอย่างแกนนำชุมชนถึงความตั้งใจในการเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิมในช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่จะมาถึงนี้ ผลการสำรวจพบว่า ตัวอย่างร้อยละ 87.8 ระบุตั้งใจจะเดินทาง ในขณะที่มีเพียงร้อยละ 12.2เท่านั้นที่จะไม่ไปไหน
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง 1 ปี มาตรา 44 กับความมั่นใจของประชาชน :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – เมื่อสอบถามความคิดเห็นของตัวอย่างแกนนำชุมชนถึงการติดตามข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา พบว่าตัวอย่างร้อยละ 59.7 ระบุติดตามทุกวัน/เกือบทุกวัน ในขณะที่ร้อยละ 22.9 ระบุติดตาม 3-4 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 8.1 ระบุติดตาม 1-2 วันต่อสัปดาห์ ร้อยละ 8.5 ติดตามเป็นบางวัน และร้อยละ 0.8
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง 2 ปี คสช. เปลี่ยนประเทศไทยอย่างไร? :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – เมื่อคณะผู้วิจัยได้สอบถามตัวอย่างแกนนำชุมชนถึงการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัวตลอดระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 35.5 ระบุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ร้อยละ 45.8 ระบุดีเหมือนเดิม ในขณะที่ร้อยละ 7.9 ระบุแย่เหมือนเดิม และร้อยละ 10.8 ระบุแย่ลง
ศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน มาสเตอร์โพล (Master Poll) เสนอผลสำรวจ เรื่อง ที่สุดแห่งปี 58 ข่าวดีผลงานรัฐบาลในความทรงจำมนุษย์เงินเดือน – ที่สุดข่าวดีผลงานรัฐบาลในรอบปี 58 ที่ผ่านมา เมื่อตอบได้มากกว่า 1 ข่าว ได้แก่ ร้อยละ 83.8 ระบุ รักษาบ้านเมืองสงบเรียบร้อยไม่วุ่นวายแตกต่างไปจากช่วงความรุนแรงทางการเมือง ที่มีกลุ่มคนมิฉาชีพทำลายความเป็นปกติสุขของบ้านเมือง ข่มขู่คุกคาม สกัดกั้นการสัญจรไปมา ละเมิดสิทธิประชาชนผู้บริสุทธิ์
ศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เปิดข้อมูลวิจัยเชิงคุณภาพ เรื่องถอดรหัส เทียร์ 3 ค้ามนุษย์ของไทย: ถ้าไม่ทำในรัฐบาลนี้ ยากที่จะทำได้ในรัฐบาลหน้า – ดร.นพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยข้อมูลรายงานการค้ามนุษย์ของประเทศไทยโดยกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ หรือ TIP Report 15 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ฉบับแรกในปี 2544 ถึง
เผย 15 ปัญหาสำคัญขัดขวางแก้ค้ามนุษย์ คณะวิจัยกังวลว่าไทยอาจถูกจัดอันดับขึ้นลง เหมือนเดิม เหตุแก้ปัญหาไม่ยั่งยืน ทำงานยึดตัวบุคคลมากกว่าระบบ – ดร.นพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน และ มาสเตอร์โพล (Master Poll) ได้ทำวิจัยเชิงคุณภาพค้นคว้าเอกสาร สัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลกุญแจสำคัญ เจ้าหน้าที่รัฐบาลไทยและต่างชาติ องค์การระหว่างประเทศ และเหยื่อค้ามนุษย์ พบว่า ผู้ถูกศึกษาเห็นว่า รัฐบาลและ คสช.
มาสเตอร์โพล (Master Poll)เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง – ดร.นพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพล(Master Poll) เรื่อง ข่าวอะไรสร้างสุข ข่าวอะไรสร้างความกังวลในใจแกนนำชุมชนกรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ
ศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน มาสเตอร์โพล (Master Poll)เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่องประชาชนคิดอย่างไรต่อ การร่างรัฐธรรมนูญ การชุมนุมทางการเมือง และประโยชน์ของนโยบายรัฐบาลชุดปัจจุบันเปรียบเทียบกับรัฐบาลนักการเมืองในอดีต – ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 64.7 เชื่อมั่นต่อความสำเร็จในการร่างรัฐธรรมนูญโดย 21 อรหันต์กรรมการร่างรัฐธรรมนูญ โดยส่วนใหญ่หรือร้อยละ 78.7 ควรนำค่านิยมหลัก 12 ประการใส่ไว้ในรัฐธรรมนูญ ส่วนสาระสำคัญอื่นๆ
ศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน มาสเตอร์โพล (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่องนักการเมืองกับซิงเกิลเกตเวย์ในสายตาแกนนำชุมชน – แกนนำชุมชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 84.3 ระบุตั้งแต่ หลัง คสช. และ รัฐบาลเข้ามาแก้ปัญหาประเทศ ยังไม่เคยเห็นนักการเมืองเสนอนโยบายช่วยประชาชน ในขณะที่ร้อยละ 15.7 ระบุเคยเห็น แต่ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 85.6 พบเห็นนักการเมืองเคลื่อนไหวเพื่อความอยู่รอดของตัวเองมากกว่า มีเพียงร้อยละ 14.4
ศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน มาสเตอร์โพล (Master Poll) – ดร.นพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพล (Master Poll) เรื่อง แนวโน้มความนิยมต่อผลงานรัฐบาลและ คสช. ในรอบ 1 ปี กับนโยบายอะไรของรัฐที่เห็นประโยชน์และไม่เห็นประโยชน์ กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ จำนวน 1,057 ชุมชนตัวอย่าง
มาสเตอร์โพล จัดแถลงข่าว พบเหตุปัจจัยไทยถูกจัดอันดับค้ามนุษย์เทียร์ 3 ซ้ำ กับข้อเสนอโครงสร้างองค์กรถาวรทางยุทธศาสตร์ ต่อต้านขบวนการค้ามนุษย์ – มาสเตอร์โพล (Master Poll) เชิญร่วมฟังแถลงข่าว พบเหตุปัจจัยไทยถูกจัดอันดับค้ามนุษย์เทียร์ 3 ซ้ำ กับข้อเสนอโครงสร้างองค์กรถาวรทางยุทธศาสตร์ ต่อต้านขบวนการค้ามนุษย์ โดย ดร.นพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 8 ตุลาคม เวลา 10.00 น. โทร. 086 – 971 - 7890 โทร. 086 – 052 - 3936
มาสเตอร์โพล (Master Poll) เสียงสะท้อนของคนเห็นต่างและกลุ่มพลังเงียบ – ดร.นพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพล (Master Poll) เรื่อง เสียงสะท้อนของคนเห็นต่างและกลุ่มพลังเงียบต่อนโยบายแห่งรัฐ กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ จำนวน 1,057 ชุมชนตัวอย่าง
มาสเตอร์โพล (Master Poll) ศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เรื่อง ชี้ช่องไทยหลุดพ้นเทียร์ 3 สู่ผู้นำอาเซียนต่อต้านการค้ามนุษย์ – ประเทศไทยยังคงถูกจัดอันดับต่ำสุดคือ อยู่ในกลุ่มเทียร์ 3 ของการแก้ปัญหาค้ามนุษย์เพราะประเทศไทยยังขาดข้อมูลชี้สถานการณ์ภาพใหญ่ของประเทศที่น่าเชื่อถือว่า มีเหยื่อของขบวนการค้ามนุษย์จำนวนเท่าไหร่
มาสเตอร์โพล (Master Poll) ศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง แกนนำชุมชนคิดอย่างไรต่อ ข่าวสาร ยุทธศาสตร์ และ ความเหลื่อมล้ำ – ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 96.7 ติดตามข่าวสารเป็นประจำทุกวัน โดยส่วนใหญ่หรือร้อยละ 73.5 ระบุข่าวที่ติดตามแล้วเกิดประโยชน์ต่อประชาชนมากที่สุดคือ ข่าวเศรษฐกิจ ช่วยชี้ช่องทางทำมาหากิน แก้ปัญหาปากท้องได้ ในขณะที่ข่าวปฏิรูปการเมือง การเคลื่อนไหวทางการเมือง
มาสเตอร์โพล (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง แกนนำชุมชนคิดอย่างไรต่อ ภาพลักษณ์ของประเทศไทยในสายตาชาวต่างชาติ – ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 97.2 ติดตามข่าวสารการเมืองปัจจุบัน ในขณะที่ร้อยละ 2.8 ไม่ได้ติดตาม และเมื่อถามถึง ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้นของประเทศไทยในสายตาของต่างชาติ ภายหลัง คสช. และรัฐบาลเข้ามาแก้ปัญหา พบว่า อันดับแรกหรือร้อยละ 71.9 ระบุ การแก้ปัญหาคนไทย ตีกัน การรักษาความมั่นคงของประเทศ เป็นภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll): ความสุขของแกนนำชุมชนต่อ 3 รัฐบาล 3 นายกรัฐมนตรี: กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 97.4 ติดตามข่าวสารของบ้านเมืองผ่านสื่อต่างๆ มีเพียงร้อยละ 2.6 เท่านั้นที่ไม่ได้ติดตาม และเมื่อสอบถามถึงความสุขต่อการแก้ปัญหาบ้านเมืองด้านต่างๆ โดยรัฐบาล 3 รัฐบาล พบว่า ความสุขต่อการแก้ปัญหาบ้านเมืองโดยรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้คะแนนสูงสุดในทุกด้านมากกว่ารัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) พลังความไว้วางใจจากประชาชนไทยถึงรัฐบาลประยุทธ์ 3 – เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง พลังความไว้วางใจจากประชาชนไทยถึงรัฐบาลประยุทธ์ 3 (The Power of Trust in Government): กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง พลังความไว้วางใจจากประชาชนไทยถึงรัฐบาลประยุทธ์ 3 (The
มาสเตอร์โพลล์ เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง คำตอบจากแกนนำชุมชน ถึงเวลาแล้วหรือยังที่คนไทยต้องรักสามัคคี? – รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง คำตอบจากแกนนำชุมชนถึงเวลาแล้วหรือยังที่คนไทยต้องรักสามัคคี OUR HOME OUR COUNTRY STRONGER TOGETHER : กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่องแกนนำชุมชนคิดอย่างไรต่อ รัฐบาล และ คสช. หลังเกิดเหตุร้ายที่แยกราชประสงค์:กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – แกนนำชุมชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 98.3 ติดตามข่าวสารเกี่ยวกับเหตุระเบิดที่สี่แยกราชประสงค์ ในขณะที่เพียงร้อยละ 1.7 ไม่ได้ติดตาม และเมื่อสอบถามถึงความพอใจต่อการปฏิบัติการของทุกภาคส่วน ภายหลังเหตุระเบิดที่สี่แยกราชประสงค์ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 74.5
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่องความสุขมวลรวม (GDH) ของประชาชน เดือนสิงหาคม 2558: กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – ความสุขมวลรวมของประชาชนที่ระบุสุขมาก ถึง มากที่สุดมีอยู่ร้อยละ 18.5 ระดับค่อนข้างมากมีอยู่ร้อยละ 42.2 ระดับปานกลางมีอยู่ร้อยละ 20.1 ค่อนข้างน้อยมีอยู่ร้อยละ 13.4 ในขณะที่ สุขน้อยถึงไม่มีความสุขเลย มีอยู่ร้อยละ 5.8 ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม ค่าความสุขมวลรวมของประชาชนเฉลี่ยอยู่ที่
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ความสำเร็จของการปฏิรูปประเทศในสายตาของแกนนำชุมชน: กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – ผลสำรวจการติดตามข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา พบว่า แกนนำชุมชน ร้อยละ 54.3 ระบุติดตามทุกวัน/เกือบทุกวัน ในขณะที่ร้อยละ 35.0 ระบุติดตาม 3-4 วัน ร้อยละ 8.9 ระบุติดตาม 1 – 2 วัน และ ร้อยละ 1.8 ระบุไม่ได้ติดตามเลยเมื่อสอบถามแกนนำชุมชนเกี่ยวกับการรับทราบข่าวกรณีสภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือ สปช. ได้ส่งมอบแผนการปฏิรูปประเทศต่อ พล.อ.ประยุทธ์